1 / 34

แนวทางการพัฒนาข้อมูล OP/PP Individual 2555

แนวทางการพัฒนาข้อมูล OP/PP Individual 2555. สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. Topic. Back ground มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555 ข้อมูล 18 แฟ้มมาตรฐาน ความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล Package ของข้อมูล การส่งข้อมูล Statement การตรวจสอบข้อมูล.

hyatt-black
Download Presentation

แนวทางการพัฒนาข้อมูล OP/PP Individual 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการพัฒนาข้อมูลOP/PP Individual 2555 สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  2. Topic • Back ground • มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555 • ข้อมูล 18 แฟ้มมาตรฐาน • ความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล • Package ของข้อมูล • การส่งข้อมูล • Statement • การตรวจสอบข้อมูล

  3. OP/PP Individual Records System สบจ. Management Result OP/PP Data Resources Service delivery OP/PP Individual Records หน่วยบริการ ใช้ประโยชน์ -สำนักฯ, -กองทุนฯ -สาขาเขต IT Support Vender

  4. มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555 • ข้อมูลมาตรฐาน 18 แฟ้ม (Version 4.0 วันที่ 1 ตุลาคม 2554) • Person10.PP • Service 11. Women • Diag12. Death • Proced13.Nutri • Drug 14. Chronic • ANC 15. Card • EPI 16. Appoint • FP 17.Surveil • MCH 18. Home

  5. ความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูลความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล • Person • EPI • FP • ANC • MCH • PP • Person* • Service* • Diag* • Drug • Proced • Surveil • Card • Death • Appoint • Chronic • Nutri • Women • Home FOP_HCODE_YYYYMMDDhhmmss FOP_12345_25540101083011 OP Package PP Package FPP_HCODE_YYYYMMDDhhmmss FPP_12345_25540101083011

  6. OP_Package (Add on) FOP_Hcode_YYYYMMDDhhmmss (Add on) • Person ส่งข้อมูลเฉพาะ record ที่เชื่อมโยงกับแฟ้มใน package เท่านั้น

  7. PP_Package FPP_Hcode_YYYYMMDDhhmmss

  8. Framework การส่งข้อมูล สถานีอนามัย/PCU สสจ. สนย. OP/PP_Package Provis / Data Center ตรวจสอบเบื้องต้น Rep Statement OP/PP_Package โรงพยาบาล

  9. แผนการส่งข้อมูล ปี 2555 >>ความทันเวลาของการส่งข้อมูล >>ข้อมูลบริการของเดือนใด ๆ ส่งได้ไม่เกินวันสิ้นเดือนของเดือนถัดไป 31 การส่งข้อมูลสามารถส่งได้ทุกวัน ตุลาคม พฤศจิกายน 31 30 ธันวาคม มกราคม 31

  10. แผนการส่งข้อมูล ปี 2555

  11. มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555 • การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง 18 แฟ้ม ปีงบประมาณ 2555 ที่มีผลกับการตรวจสอบและประมวลผล สปสช. ปี 2555 • มีการปรับเพิ่ม Field ผู้ให้บริการ (SERV_PER) 15 หลักในแฟ้ม PROCED (เพื่อเก็บข้อมูลผู้นวดในแพทย์แผนไทยและยกเลิกโปรแกรมการบันทึกผ่านหน้าเว็บ • ปรับขยาย Field OCCUPA ในแฟ้ม PERSON จาก 3 เป็น 4 หลัก • เพิ่มรหัสในคำอธิบายของแฟ้ม MCH ดังนี้ - Field DENTAL เพิ่มรหัส 9 ไม่ทราบ - Field TARTAR เพิ่มรหัส 8 = ไม่ตรวจ และ 9 = ไม่ทราบ - Field GUMINF เพิ่มรหัส 8 = ไม่ตรวจ และ 9 = ไม่ทราบ - Field PPRES เพิ่มรหัส 9 = ไม่ทราบ Check โครงสร้าง

  12. มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555

  13. มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555

  14. มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555 ๔) เพิ่มรหัสในคำอธิบายของแฟ้ม PP ดังนี้ - Field ASPHYXIA เพิ่มรหัส 9 ไม่ทราบ - Field VITK เพิ่มรหัส 9 = ไม่ทราบ - Field BCRES เพิ่มรหัส 9 = ไม่ทราบ

  15. มาตรฐานแฟ้มข้อมูล ปี 2555

  16. การประมวลผลบริการผู้ป่วยนอก (OP) • - สามารถเชื่อมโยงการให้บริการกับข้อมูลบุคคล • - รหัสคลินิก (CLINIC) ถูกต้องตามมาตรฐานโดยจะตรวจสอบจากตำแหน่งที่ 2-3 • - ต้องมีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการให้บริการได้ ทั้งนี้การให้รหัสการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง มีเงื่อนไขดังนี้ • - ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย ๑ รหัสที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2007) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์แผนไทย • - หากให้รหัสโรคถูกต้องตามหลักการให้รหัสโรคตาม ICD10 (WHO 2007) จะตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 4.0) • - ตรวจสอบประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) ต้องมีค่าตั้งแต่ 1 – 5

  17. การประมวลผลบริการผู้ป่วยนอก (OP) • เงื่อนไขการคิดคะแนน Point ของการให้บริการผู้ป่วยนอก จะคิดดังนี้ • - เป็นข้อมูลบริการตั้งแต่ 1กรกฎาคม 2554– 30มิถุนายน 2555 • - มีเลขประชาชน 13หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • - การให้บริการผู้ป่วยนอก 1คนใน 1วัน จะได้ 1Point (การเข้ารับบริการหลายครั้งใน 1วัน จะคิด 1Point) • - การคิด Point จะพิจารณาเฉพาะรหัสการวินิจฉัยที่เป็นการให้บริการผู้ป่วยนอกเท่านั้น

  18. ผู้ป่วยนอก (OP Visit) • ผู้ป่วยนอก หมายถึงผู้รับบริการที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วย และได้ลงทะเบียนไว้ที่แผนกผู้ป่วยนอก ทั้งนี้ให้นับรวมผู้มารับบริการด้านการรักษาพยาบาลต่อเนื่อง เช่น ฉีดยาต่อเนื่อง, ทำแผลต่อเนื่อง, ผู้ติดสารเสพติดมารับการบำบัดต่อเนื่อง ผู้มารับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ไม่นับรวม ผู้ที่มารับบริการด้านส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ได้แก่ ตรวจก่อนคลอด ตรวจหลังคลอด ส่งเสริมป้องกัน,ทันตสุขภาพ , การวางแผนครอบครัว ตรวจสุขภาพประจำปี , Pap smear ,การให้คำปรึกษา เป็นต้น

  19. รหัส ICD10 กลุ่ม Z ที่เป็นการให้บริการ OP และ PP Z7 - Consult

  20. การประมวลผลบริการผู้ป่วยนอก (OP) • การตรวจสอบข้อมูลเพื่อให้ค่าตอบแทนข้อมูล OP เพิ่มเติม (Add on) • - กรณีหัตถการจากแฟ้ม PROCED หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.05Point โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • - เป็นรหัสที่อยู่ใน ICD 9 CM และ ICD 10 TM และต้องเป็นรหัสที่กำหนดให้สามารถให้ได้ (กรณีที่เป็นรหัสกลุ่มของหัตถการหากมีรหัสย่อยรหัสกลุ่มนั้นไม่สามารถใช้ได้) • - เป็นรหัสที่เป็นการให้หัตถการกับผู้มารับบริการจริง ตามที่ สปสช. กำหนด • - กรณีมีบันทึกการให้ยาและบันทึกรหัสยามาตรฐาน (24หลัก) จากแฟ้ม DRUG หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.05Point • - กรณีมีการส่งต่อ (Refer) จากแฟ้ม SERVICE หากมีการบันทึกข้อมูลการส่งต่อครบถ้วน จะคิดเป็น 0.05 point

  21. การประมวลผล บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(PP) ๑) ข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI ๒) ข้อมูลการวางแผนครอบครัว แฟ้ม FP ๓) ข้อมูลการฝากครรภ์ แฟ้ม ANC ๔) ข้อมูลการตั้งครรภ์ การคลอดและดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH ๕) ข้อมูลการคลอดและดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP

  22. การประมวลผล บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(PP) • - ตรวจสอบการเชื่อมโยงการให้บริการ กับข้อมูลบุคคล ต้องสามารถเชื่อมโยงข้อมูลบุคคลในแฟ้ม EPI กับแฟ้ม PERSON • - กรณีให้วัคซีนคนต่างด้าวที่ไม่มีเลขประชาชน 13หลักต้องมีการระบุสัญชาติที่ไม่ใช่สัญชาติไทย และต้องใส่ HN (หรือ PID ในแฟ้ม SERVICE) ลงในฟิลด์ CID โดยหาก HN มีไม่ครบ ๑๓ หลัก ให้ใส่เลข ๐ ด้านหน้า HN ให้ครบ ๑๓ หลัก • - ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูล

  23. การประมวลผล • เงื่อนไขการคิด Point ของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • - เป็นข้อมูลการให้บริการตั้งแต่ 1กรกฎาคม 2554– 30มิถุนายน 2555 • - มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • - ข้อมูล EPI, FP, ANC ที่ผ่านการตรวจสอบ 1รายการ ได้ 0.25Point • - ข้อมูล MCH และ PP ที่ผ่านการตรวจสอบต้องมีวันที่ดูแลแม่และเด็กครั้งที่ 2และการดูแลครั้งสุดท้ายต้องอยู่ในช่วงเวลา ตั้งแต่วันที่ 1กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 30มิถุนายน 2555โดยวันที่ดูแลแม่และเด็กครั้งที่ 2ต้องห่างจากวันที่คลอด ไม่น้อยกว่า 16 วัน

  24. การคิด Pointเพื่อชดเชยตามอัตราการใช้บริการ • การจัดสรรงบจะคิดเป็น Global Budget ระดับเขต และจะแยกเป็น Global Budget รายจังหวัด • ใช้ข้อมูลบริการตั้งแต่ กรกฎาคม 2554 – มิถุนายน 2555 • จัดสรรเฉพาะที่มีเลข 13 หลัก ในฐานข้อมูล สปสช. • การคิด Point OP จะคิดเฉพาะการให้รหัสโรคที่เป็นการให้บริการผู้ป่วยนอกเท่านั้น (หากให้รหัสตาม ICD10* ข้อมูลยังคงผ่านการตรวจสอบ) • การคิด Add on หัตถการและยาจะคิดตามรายการที่บันทึกเข้ามา (รายการละ 0.05Point) • หัตถการจะคิด Point เฉพาะรหัสที่เป็นรหัสการทำหัตถการจริงๆเท่านั้น • มีการระงับการจ่าย (Pending) กรณีมีการบันทึกข้อมูลที่ผิดปกติ เพื่อรอการตรวจสอบโดย สปสช. เขต

  25. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น 1. การตรวจรหัสหัตถการในแฟ้ม PROCED โดยรหัสที่ให้ต้องเป็นรหัสที่สามารถให้ได้ (VALIDCODE = T) เช่น

  26. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น

  27. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น 2. เพิ่มการตรวจสอบในแฟ้ม PP (Newborn) วันที่เยี่ยมเด็กแรกเกิดต้องมากกว่าวันคลอด (BCARE1 > BDATE) 3. เพิ่มการตรวจสอบแฟ้ม MCH ตรวจวันที่เยี่ยมหลังคลอดต้องมากกว่าวันคลอด (PPCARE1 > BDATE)

  28. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น

  29. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น

  30. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น 4. เพิ่มการตรวจสอบ Add on REFER โดนตรวจสอบว่าหน่วยบริการที่รับ-ส่ง ต้องไม่ใช่หน่วยบริการที่รักษา

  31. การประมวลผลที่เพิ่มขึ้นการประมวลผลที่เพิ่มขึ้น

  32. การคิดคะแนน (Point) OP/PP Performance • ความถูกต้องของแฟ้ม PERSON (ทั้งใน OP Package และ PP Package) • ความถูกต้องของแฟ้ม DRUG • การส่งข้อมูลซ้ำซ้อน • การส่งข้อมูลทันเวลา งวดที่ 1 ใช้ข้อมูลที่ส่งตั้งแต่ กรกฎาคม 2554 – ธันวาคม 2554 (6 เดือน) งวดที่ 2 ใช้ข้อมูลที่ส่งตั้งแต่ มกราคม 2555 – มิถุนายน 2555 (6 เดือน) • ระงับการจ่าย (Pending) กรณีมีระงับการจ่ายจากการจ่ายชดเชยตามอัตราการรับบริการ

  33. การจัดสรร (Point) OP/PP Performance เงื่อนไขการคิดคะแนน 1) ความถูกต้องของแฟ้ม Person และ Drug ถูกต้อง > 95 % 1 Point ถูกต้อง 90.1-95 % 0.5 Point ถูกต้อง 85.1-90 % 0.25 Point 2) ความซ้ำซ้อนและทันเวลา ไม่ซ้ำซ้อนหรือทันเวลา > 95 % 1 Point ไม่ซ้ำซ้อนหรือทันเวลา90.1-95 % 0.5 Point

  34. ขอบคุณครับ Chaiwat.d@nhso.go.th 02-1414227 085-4803920

More Related