1 / 80

ฝูงชนกำเนิดคล้าย คลึงกัน ใหญ่ย่อมเพศผิวพรรณ แผกบ้า ง ความรู้อาจเรียนทัน กันหมด

ฝูงชนกำเนิดคล้าย คลึงกัน ใหญ่ย่อมเพศผิวพรรณ แผกบ้า ง ความรู้อาจเรียนทัน กันหมด เว้นแต่ชั่วดีกระด้าง ห่อนแก้ ฤๅไหว. (โคลงเสด็จประพาสยุโรป บทพระราชนิพนธ์ในพร ะพุทธเจ้าหลวง). ปฏิบัติการสัตววิทยา 423113. อ . แน็ต. นายอภิสิทธิ์ ทิพย์อักษร (อ . แน็ต). การศึกษาในระบบ

idalia
Download Presentation

ฝูงชนกำเนิดคล้าย คลึงกัน ใหญ่ย่อมเพศผิวพรรณ แผกบ้า ง ความรู้อาจเรียนทัน กันหมด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฝูงชนกำเนิดคล้าย คลึงกัน ใหญ่ย่อมเพศผิวพรรณ แผกบ้าง ความรู้อาจเรียนทัน กันหมด เว้นแต่ชั่วดีกระด้าง ห่อนแก้ ฤๅไหว (โคลงเสด็จประพาสยุโรป บทพระราชนิพนธ์ในพระพุทธเจ้าหลวง)

  2. ปฏิบัติการสัตววิทยา423113ปฏิบัติการสัตววิทยา423113 อ.แน็ต

  3. นายอภิสิทธิ์ ทิพย์อักษร (อ.แน็ต) • การศึกษาในระบบ • Prof.Cert.(Anim.Taxon.)Copenhagen,Denmark • วท.ม.(ชีววิทยาสภาวะแวดล้อม)(นานาชาติ)มหิดล • ประสบการณ์ • ครูอาสา มูลนิธิเด็ก (2536-2539) • ติวเตอร์วิชาชีววิทยา เดอะซัคเซส (2541-2544) • ครูวิชาการ ร.ร.มหิดลวิทยานุสรณ์ (2546-2548) • อาจารย์ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน(2548-ปัจจุบัน) a_thipaksorn@yahoo.com โทร. 08703-35043

  4. ข้อตกลงร่วมกันวิชา 423113 1. เวลาที่อาจารย์สอน ห้ามคุย!!!ถ้ามีข้อสงสัยให้ยกมือถามทันที 2. ถ้าตักเตือนแล้วไม่ฟัง ครั้งแรกจะโดนแจกใบเหลือง!! ถ้ายังต้องเตือนอีกครั้ง โดนใบแดง!!!เชิญออกนอกห้อง 3. จะล็อคประตูหลังจากเริ่มเรียนไปแล้ว 15นาที และจะ เช็คชื่อทุกครั้งก่อนเลิกเรียน ถ้าขาดเรียนเกิน 2ครั้ง เชิญย้ายไปเรียนหมู่อื่นได้!!! 4. บางบทปฏิบัติการจะต้องส่งรายงานด้วย ซึ่งทางผู้สอน จะแจ้งให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง 5. ผู้สอนขอสงวนสิทธิในอำนาจการตัดสินใจทุกเรื่องระหว่างที่เรียนวิชานี้ ถ้ามีข้อสงสัย ให้กลับไปอ่านข้อ 5 อีกครั้ง!!!

  5. คะแนนปฏิบัติการ 423113 (40/100 คะแนน) • สอบกลางภาค 15 คะแนน - Protozoa ถึง Annelida • สอบปลายภาค 15 คะแนน - Mollusca ถึง ระบบประสาทกบ • คะแนนในชั้นเรียน 10 คะแนน - Quiz (5 คะแนน) - รายงานปฏิบัติการ (2 คะแนน) - การเข้าชั้นเรียน (3 คะแนน) - โครงกระดูกกบ(F โดยอัตโนมัติ…ถ้าไม่ส่ง)

  6. Phylum Protozoa

  7. Phylum Protozoa • อยู่ใน Kingdom Protistaร่วมกับสาหร่าย • Unicellular organism • Eukaryotic cellมีขนาดเล็ก ดำรงชีวิตแบบเดี่ยวหรือ colony • Organelle ทำหน้าที่เหมือนอวัยวะสัตว์ชั้นสูง • Flagellate Protozoaน่าจะเป็นต้นตระกูลสัตว์หลายเซลล์

  8. Cell structure • Plasma membrane - ลักษณะอ่อนนุ่ม ค่อนข้างเหลว (plasmalemma) เซลล์มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงตามการไหลของ protoplasm เช่น Amoeba - ถ้าหนาและแข็งขึ้นจะเรียกว่า pellicleเช่น Euglena,Paramecium - บางชนิดอาจมีเปลือกหุ้ม เช่น Arcella

  9. 2. Nucleus • - ควบคุมกิจกรรมต่างๆภายในเซลล์ • - มีอย่างน้อย 1นิวเคลียส • พวก Ciliate Protozoa มี nucleus 2ชนิดคือ • (1) macronucleus เกี่ยวข้องกับการควบคุมกิจกรรม • ต่างๆในเซลล์ • (2) micronucleus ควบคุมการสืบพันธุ์

  10. macronucleus micronucleus

  11. 3. Cytoplasm แบ่งได้ 2ส่วนคือ (1)Ectoplasmส่วนนอกติด plasmalemma (2)Endoplasm จะมี organelle ชนิดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต - Plastid ใน Protozoa มี 3ชนิดคือ 1. Chloroplast มี chlorophyll ช่วยในการ สังเคราะห์แสง 2. Chromoplast คือ plastid สีอื่นๆ 3. Leucoplast ไม่มีสี สะสมแป้ง

  12. Stigma หรือ eye spotคือ จุดตา อาจมีสีแดง น้ำตาล หรือไม่มีสี ทำหน้าที่รับแสง • Mouth organelleช่องเปิดที่ผิวเซลล์ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอาหารคือ Cytostomeถัดเข้าไปคือ Cytopharynxซึ่งส่วนปลายจะโป่งออกเกิดเป็น food vacuole

  13. Food vacuole • - Protozoa ที่มี chloroplast จะไม่มีfood vacuole • - Protozoa ที่สังเคราะห์แสงไม่ได้ จะได้รับอาหารจากการกิน อาหารจะมี cytoplasm มาหุ้ม มีการปล่อยน้ำย่อยออกมาย่อยอาหารในถุง แล้วจึง ดูดซึมอาหารไปใช้ กากอาหารจะขับถ่ายออกทาง plasmalemma

  14. Contractile vacuole - Freshwater Protozoa จะมี contractile vacuoleช่วยควบคุมสมดุลของน้ำในเซลล์ (osmoregulator) รวมทั้งกำจัดของเสียในเซลล์ (nitrogenous waste)

  15. - Locomotive organelleมี 5ประเภทด้วยกันคือ 1. Pseudopodiumเป็นส่วน protoplasm ที่ยื่นออกไปในทิศทางต่างๆ โดยมี pseudopodium หนึ่งที่นำ และดึงให้ส่วนอื่นของเซลล์ไหลตามไป 2.Ciliaเส้นสั้นๆคล้ายขนและมีจำนวนมาก โครงสร้างภายในเป็น microtubuleเรียงตัวเป็นวงอยู่ขอบนอก 9กลุ่ม และตรงกลาง 2กลุ่ม (9+2=20)

  16. Pseudopodia

  17. Cilia

  18. 3. Flagellumลักษณะเป็นเส้นยาวคล้ายแส้ จำนวนไม่มาก โครงสร้างภายในคล้ายคลึงกับ cilia 4. Tentacleเปลี่ยนแปลงจาก ciliaและ เส้นยาวกว่า cilia พบในโปรโตซัวบางชนิดที่ชอบเกาะอยู่กับที่ 5. Myonemaคล้ายเส้นใยกล้ามเนื้อในการหดตัว อยู่ใน ectoplasm

  19. Flagella

  20. การจัดหมวดหมู่ของ Protozoa แบ่งออกเป็น 5 subphylum แต่เราจะเรียนในปฏิบัติการ2subphylum คือ 1. Subphylum Sarcomastigophora - Superclass Mastigophora - Superclass Sarcodina 2. Subphylum Ciliophora

  21. Superclass Mastigophora • Flagellate Protozoa • Phytoflagellateคือ โปรโตซัวที่มี flagellumช่วยในการเคลื่อนที่ และมี chloroplastช่วยในการสังเคราะห์แสง (รวมทั้งพวกที่มีรูปร่างคล้าย flagellate protozoa แม้จะไม่สังเคราะห์แสง) • Zooflagellate คือ โปรโตซัวที่มี flagellumช่วยในการเคลื่อนที่ แต่ไม่มี chloroplastส่วนใหญ่เป็นparasite • ตัวอย่างเช่น Euglena, Phacus, Volvox, Peranema, Trypanosoma

  22. Euglena • Plasma membrane หนา (pellicle) ด้านหน้าป้าน ท้ายเรียว ปลายด้านหน้ามีช่องเปิดของ cytostomeซึ่งเปิดเข้า cytopharynx โดยด้านปลายจะโป่งออกเรียกว่า reservoirซึ่งที่ฐานเป็นจุดกำเนิดของ flagella 2 เส้น และมีเพียง 1เส้นที่ ยื่นพ้น cytostomeออกมา • ใกล้ reservoir มี contractile vacuoleและ มี accessory cv ล้อมรอบ ทำหน้าที่รวบรวมน้ำส่วนเกินและของเสียและส่งต่อไปยัง reservoir เพื่อ ขับออกทาง cytostome • โคนของ cytopharynx มี stigmaรับความรู้สึกเกี่ยวกับความเข้มของแสง

  23. Euglenaมี ectoplasm ใส ส่วน endoplasm มี 1nucleus อยู่ค่อนไปทางท้ายเซลล์ • Chloroplast สังเคราะห์แสง เป็น autotrophic organism • Paramylumเป็นอาหารประเภทแป้งที่ได้จากการสังเคราะห์แสง • แลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ • สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งตัวตามยาว(longitudinal binary fission) ในธรรมชาติจะแบ่งตัวใน cyst เมื่อแบ่งตัวเสร็จแล้วจึงออกจาก cyst

  24. Phacus • โครงสร้างคล้าย Euglenaแต่ Phacusแบนบางและแผ่กว้างคล้ายใบไม้

  25. Volvox • ดำรงชีวิตแบบ colonyเซลล์ใน colony แบ่งหน้าที่ กันทำงานคือ somatic cellมีหน้าที่ในการสังเคราะห์อาหาร ส่วน reproductive cellมีหน้าที่ในการสืบพันธุ์ โดยเซลล์จะเรียงฝังตัวที่ผิวก้อนวุ้น (gelatinous matrix) • สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการสร้าง daughter colonyใน colony เดิม • Daughter colonyเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์แบ่งตัวเพิ่มจำนวนแล้วจมตัวลงในก้อนวุ้น อาจมีได้หลาย colony

  26. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเกิดจาก reproductive cellเจริญเติบโตเป็นไข่หรืออสุจิ มีการปฏิสนธิข้าม colonyโดยตัวอสุจิจาก colony เดิมจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ใน colony อื่น • การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมักมีการสร้างในช่วงใกล้แล้ง • Zygoteมีเปลือกหุ้ม ย้อมสีจะติดสีเข้มและมีขนาดเล็กกว่า daughter colonyและยังสามารถแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนขึ้นกลายเป็น daughter colony อยู่ใน colony เดิม • อาศัยในแหล่งน้ำที่สะอาด

  27. Zygote

  28. Peranema • ไม่สังเคราะห์แสง อาหารส่วนใหญ่คือ Euglenaด้านท้ายลำตัวตัดทู่ๆ เวลาเคลื่อนที่ flagellum จะชี้ตรงไปข้างหน้า

  29. Trypanosoma • Zooflagellateเป็น parasite ในกระแสเลือด ก่อให้เกิดโรค sleeping sickness • รูปร่างคล้ายใบไม้ ยาวเรียว ด้านหน้าเรียวแหลม ด้านท้ายป้าน nucleus อยู่กลางเซลล์ • Flagellum มีจุดกำเนิดที่ท้ายเซลล์ยาวออกไปด้านหน้า มีเยื่อยึดติดกับเซลล์ (undulating membrane)

  30. Superclass Sarcodina • Plasmalemma บางและกึ่งเหลว • เคลื่อนที่ด้วย pseudopodiumรูปร่างจึงไม่คงที่เพราะเปลี่ยนแปลงตามการเกิดเท้าเทียม • ตัวอย่างเช่น Amoeba, Arcella, Difflugia, Entamoeba

  31. Amoeba • รูปร่างเซลล์ไม่คงที่เพราะเยื่อหุ้มเซลล์เป็น plasmalemmaเซลล์ที่ยื่นปูดออกมาคือ pseudopodium • ตัวเซลล์ไม่มีสีและโปร่งแสง มี contractile vacuole เป็นช่องใสอยู่ท้ายเซลล์ • Food vacuole มีสีตามอาหารที่กินเข้าไป • Ectoplasmติดกับ plasmalemma ลักษณะใสและบาง ส่วน endoplasmจะทึบและมี organelles

  32. Arcella • มีเปลือกหุ้มเซลล์คล้ายฝาครอบหลอดไฟแบบครึ่งวงกลม มีช่องเปิดให้ pseudopodiumยื่นออกมา เปลือกมีสีน้ำตาล • อยู่ตามตะกอนพื้นท้องน้ำหรือเกาะตามซากเน่าเปื่อยของพืชบริเวณน้ำนิ่ง

More Related