1 / 58

การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. แนวคิดเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์คืออะไร ?.

imaran
Download Presentation

การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  2. แนวคิดเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แนวคิดเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  3. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์คืออะไร ? • คือระบบบริหารจัดการยุทธศาสตร์ (Strategic ManagementSystem)เพื่อรวบรวมวิสัยทัศน์ ภารกิจ และยุทธศาสตร์แล้วสื่อให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบ ตลอดจนช่วยปรับการทำงานประจำวันของฝ่ายต่างๆให้เข้าหาและไปในทิศทางเดียวกัน • คือระบบที่ติดตามดูความสำเร็จของยุทธศาสตร์ด้วยการวัดผลการปฏิบัติ เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การตั้งงบประมาณ และเพื่อช่วยให้องค์กรเรียนรู้ว่ายุทธศาสตร์ใดใช้ได้หรือไม่

  4. ตำแหน่งของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำแหน่งของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ นโยบายและยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ นิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ วางแผน กิจกรรม งาน ตัวชี้วัด ตั้งงบประมาณ คิดต้นทุน(costing) แผนงาน โครงการ ปฏิบัติการ ผลงาน Input Process Outputs บริหารจัดการ พัฒนาบุคลากร

  5. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  6. ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์

  7. การวิเคราะห์ด้วยภาพแผนที่ความคิด (Mind Map) กิ่งทั้ง 4 ของภาพแผนที่ความคิด แสดงให้เห็นระดับทั้ง 4 ซึ่งจะไปเป็นตัวกำหนด ในการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ในลำดับต่อไป บรรยากาศการทำงาน โครงสร้างพื้นฐาน ด้อย ประชาชน พฤติกรรมประชาชน ข้อมูล -hv,^] เด่น รากฐาน ความต้องการแก้ไขปัญหา ทักษะบุคลากร แกนนำ ตำบล ก. น่าอยู่ องค์กร กระบวนการ ภาคี

  8. ขั้นตอนที่ 2 กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination Statement)

  9. ความหมายของจุดหมายปลายทาง • ไม่ใช่การแสดงวิสัยทัศน์หรือพันธะกิจ • อธิบายภาพอนาคตที่คาดหวังอย่างชัดเจน 1-2 หน้า • อธิบายยุทธศาสตร์เดิมที่ใช้อยู่ (ถ้ามี) • กรอบเวลา 3- 5 ปี • แสดงความเป็นไปได้ (ในอำนาจของหน่วยงานของเรา)

  10. การแสดงจุดหมายปลายทางที่ชัดเจน • ใช้เป็นเครื่องมือทำความเข้าใจกับผู้บริหาร จัดการ (Communication) เกิดการปรับเข้าหากัน(Alignment) • ใช้เป็นเครื่องมือทำความตกลงในสิ่งที่จะดำเนินการ (Contracting) • ฝ่ายต่างๆมองเห็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยที่จะตอบสนองได้ การสื่อสาร + การมอบหมาย = การปรับเข้าหากัน

  11. ลักษณะของผังจุดหมายปลายทาง รวมประโยคไว้ภายใต้หัวข้อจำนวนหนึ่ง (อาจใช้หัวข้อข้างล่างนี้) ประชาชน / ชุมชน ภาคี / พันธมิตร ต้องการอะไร มีบทบาทมีข้อผูกพันอย่างไร เราช่วยได้อย่างไรหรือต้องการอะไรจากภาคี องค์กรและวัฒนธรรม กระบวนการ เราจัดรูปองค์กรอย่างไร บุคลากรมีกระบวนทัศน์ ทักษะเหมาะสมที่จะตอบสนองข้ออื่นๆอย่างไร เราสามารถทำอะไรที่จะตอบสนองประชาชน /ภาคี

  12. ตัวอย่าง จุดหมายปลายทางพัฒนาตำบลป่าพะยอมกินดีอยู่ดีมีสุข ภายในปี 2552 ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) มีโครงการของชุมชนโดยชุมชน (ธนาคารบุญความดี) มีระบบเฝ้าระวัง บำรุงรักษา และขจัดสิ่งไม่ดีในชุมชน (ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน/ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ) มีรายได้พอเพียงตามเกณฑ์ จปฐ. มีครอบครัวอบอุ่น (ลดละเลิกอบายมุข/ปฏิบัติตามกฎจราจร) มีการกำหนดผังเมืองทั้ง 7 หมู่ มีกองทุนที่เข้มแข็ง ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) เครือข่ายชุมชนภายในตำบลร่วมสนับสนุนทรัพยากร ม.ทักษิณสนับสนุนวิชาการต่อเนื่อง อบต./อบจ.สนับสนุนงบประมาณ องค์กรภาครัฐ สนับสนุนทรัพยากรและแก้ป้ญหา รัฐวิสาหกิจ/เอกชนสนับสนุนกิจกรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) • มีการบริหารจัดการกองทุนที่เข้มแข็ง • มีการบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มีการบูรณาการแผนชุมชน(กลไกการประสานงาน กำหนดปฏิทินชุมชน) • มีระบบการสื่อสารที่ดี (ครอบคลุมทุกพื้นที่,กลุ่ม,เครือข่าย) • มีระบบการติดตามประเมินผล • มีการยกฐานะ อบต.เป็นเทศบาลตำบล ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) • บุคลากรของชุมชน มีความรู้ ทักษะและความสามารถ • มีฐานข้อมูลตำบลที่ครบถ้วนถูกต้อง • มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน • มีวัฒนธรรมชุมชนที่ดี (รัก สามัคคีมีคุณธรรม จริยธรรม ทำงานเป็นทีม)

  13. ขั้นตอนที่ 3(1) สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับหลัก

  14. มุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงสังคม วิสัยทัศน์ พันธะกิจ ทำอะไรได้ในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ บทบาทของพันธมิตร กระบวนการบริหารจัดการ จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด สมรรถนะขององค์กร จะพัฒนาอะไร

  15. การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • จากยุทธศาสตร์ที่มีอยู่แล้วเขียนเป็นแผนที่ความคิด(Mind map) • จากแผนที่ความคิด สร้างผังจุดหมายปลายทาง พร้อมคำอธิบาย • จากผังจุดหมายปลายทาง สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  16. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลป่าพะยอม อยู่ ดี กิน ดี มี สุข พัทลุงภายในปีพ.ศ. 2552 • ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ • รวมกลุ่มระดมความคิด • จัดกระบวนการเรียนรู้การจัดทำแผนชุมชน • สร้างงานตามแผนแม่บทชุมชน • ชยายผลการพัฒนา • ประเมินผล • ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • สร้างกฎกติกาของชุมชนโดยชุมชน • สร้างอาสาสมัครในชุมชน • อบรมให้ความรู้ในการป้องกันชุมชน • ชุมชนวางแผนป้องกันภัยพิบัติจากน้ำท่วม • บังคับใช้ผังเมืองรรวมของตำบล • ชุมชนปลอดยาเสพติด • สร้างมาตรการทางสังคม • สร้างอาสาสมัครกลุ่มวัยรุ่น • อบรมให้ความรู้ • การเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงาน • ชุมชนมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย • สร้างกระบวนการรับฟังความคิดเห็น • กำหนดพื้นที่ (โซนนิง) • บังคับใช้ผังเมืองรวมของตำบล • กองทุนที่เข้มแข็ง • ประชุมสมาชิกตรวจสอบ/รายงานบัญชี • ตรวจสอบโดยเครือข่ายประชาชนสม่ำเสมอ • มี จนท.การเงินของอบต.เป็นพี่เลี้ยง • คณะกรรมการเฝ้าระวังติดตามการใช้เงินตามวัตถุประสงค์ ประชาชน • เครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง • สร้างความเชื่อมั่นและศรัทธา • สร้างคุณค่าร่วมกัน • สร้างระบบสื่อสารชุมชน • ม.ทักษิณมีบทบาทสนับสนุนด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง • ร่วมสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ • ประสานงานเชิงรุกบุกเข้าหา • สร้างคุณค่าและประโยชน์ร่วม • สร้างระบบสื่อสารชุมชน • อบต./อบจ.มีภาพลักษณ์ธรรมาภิบาล • สร้างระบบการสื่อสารเพื่อการพัฒนา • สร้างระบบการบริหารสนับสนุนติดตามและประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม • บริหารการเปลี่ยนแปลงโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ • องค์กรภาครัฐทำงานเชิงรุก • รู้เขารู้เรา • สร้างช่องทางการสื่อสารสู่ชุมชน • เรียนรู้ การสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ร่วมกัน • อบต. อบจ. สปก สื่อมวลชน ผู้ว่าซีอีโอ สปสช. สสส. สนับสนุน • สร้างและแผนที่ยุทธศาสตร์ระดับตำบลอย่างมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กรสนับสนุน • จำทำแผนให้สอดคล้องกัปฏิทินของชุมชน • รัฐวิสาหกิจและเอกชน • สร้างความสัมพันธ์ที่ดี • สร้างคุณค่าและประโยชน์ร่วมกัน • ใช้การตลาดเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม ภาคี เครือข่าย • การบริหารจัดการของอบต.ทุกโครงการ ตรวจสอบได้ เป็นธรรมและมีการประเมินผลงาน • การสนับสนุนและกระจายทรัพยากรอย่างเหมาะสม • จัดเวทีประชาชนป็นคณะกรรมการจัดสรรงบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง • ผู้แทนภาคประชาชนเป็นกรรมการจัดสรรงบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง • ประชาสัมพันธ์ข้ามูลข่าวสาร การดำเนินการโครกงรต่างๆ • เปิดโอกาส/กระตุ้นชุมชนให้ตระหนักถึงการตรวจสอบโครงการ • กำหนดตัวชี้วัดในการประเมินผลงานตามแผนที่ยุทธศาสตร์ • มีระบบสื่อสารสองทางที่ครอบคลุมเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย • จัดให้มีผู้รับผิดชอบศูนย์ข้อมูลจากชุมชนที่อบต. • พัฒนาระบบกระจายเสียงไร้สาย • จัดทำเอกสาร/ใบปลิวรายงานการดำเนินงานรายเดือน • พัฒนาสื่อบุคคล (เยาวชน) ในการกระจายข่าวสารสู่ครอบครัวและชุมชน • จัดทำผังรายการเสียงไร้สายให้ครอบคลุมเนื้อหา • ถ่ายทอดสดการประชุมร่างข้อบังคับประจำปี กระบวนการ • มีการยกฐานะ อบต. เป็น เทศบาล • กำหนดแนวเขตพื้นที่ให้ชัดเจน • สภา อบต. เร่งรัด กระบวนการยกฐานะ รากฐาน • แกนนำมีทักษะที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต • จัดอบรมให้ความรู้ และเพิ่มทักษะแบบครบวงจร • ศึกษาดูงาน • ฝึกปฏิบัติ • ฐานข้อมูลครบถ้วนถูกต้องทันสมัย • สร้างแบบสำรวจเครื่องมือในการสำรวจและบอกวัตถุประสงค์ที่แท้จริง • สำรวจเพื่อปรับปรุงและจัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้น • จัดทำฐานข้อมูลในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด • ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน • การจัดการความรู้ของชุมชน • ประชาสัมพันธ์ • ใช้ประโยชน์จากคณะกรรมการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบล • ชุมชนมีวัฒนธรรมที่ดี • ปลูกฝังจิตสำนึกโดยสถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา • จัดกิจกรรม

  17. ขั้นที่ 3(2) ตรวจความสอดรับระหว่างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์

  18. ตรวจสอบแผนที่ฯกับยุทธศาสตร์การพัฒนา อบต ป่าพยอม ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน 1. ขีดความสามารถด้านการเกษตรและปสุสัตว์ 2. การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. การมีส่วนร่วม การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4. โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค 5. ส่งเสริมอาชีพและเพิ่มรายได้ 6. บริการสาธารณสุขชุมชน บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 7. การบริหารจัดการที่ดี การให้บริการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ตรวจสอบแล้วสอดรับกัน

  19. สรุป แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ คือ ไม่ใช่ • ระบบบริหารจัดการยุทธศาสตร์ • เครื่องมือสื่อสารขององค์กร • หนทางสู่การเปลี่ยนความคิด จิตใจ • ต้องใช้ความคิดแหลมคมทั้งระดับยุทธศาสตร์และปฏิบัติ • การสร้างนวัตกรรม • การสร้างสมดุลระหว่างมุมมองต่างๆ • การสร้างความรับผิดชอบ • การปรับวิสัยทัศน์กับปฏิบัติการให้สอดคล้องกัน • ดัชนีเครื่องชี้วัดปฏิบัติการเท่านั้น • บริการข้อมูล /ศึกษาของผู้บริหาร • โครงการชั่วครั้งชั่วคราว • การปฏิบัติการไปตามโครงการที่มีอยู่แล้ว • การปฏิบัติการไปวันๆ • การนำเครื่องชี้วัดอะไรก็ได้บรรจุลงไปในแผนที่ฯ • การควบคุมที่เข้มงวดเป็นรายบุคคล • การใช้เทคนิคการบริหารแปลกใหม่

  20. ขั้นตอนที่ 3(3) สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM)

  21. การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) • จากแผนที่ยุทธศาสตร์หลัก แต่ละองค์กรจะพัฒนาแผนที่เฉพาะส่วนของตนเรียกว่าแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model - SLM) โดยใช้กระบวนการเดียวกันทุกองค์กร ลงไปจนถึงการตั้งเป้าหมายและเครื่องชี้วัดปฏิบัติการ(Performance Target & Indicator) • ผลที่ได้ จะทำให้การพัฒนาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทุกฝ่ายทราบว่าจะร่วมมือเรื่องอะไร กับใคร ได้เมื่อใด

  22. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ ( STRATEGIC LINKAGE MODEL- SLM) • แสดงชุดกิจกรรมสำคัญที่จะทำภายใน 2 ปีเพื่อบรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนด • แสดงชุดผลลัพธ์ที่จะได้ ถ้ากิจกรรมเหล่านั้นให้ผลตามคาด • เป็นภาพในสายตาของผู้บริหาร ไม่ใช่ผังการปฏิบัติงาน • ประโยชน์ • ใช้ทำความกระจ่างกับคณะผู้บริหารถึงสิ่งที่ จะต้องทำ และโอกาสของการติดตามความก้าวหน้า • เป็นภาพง่ายๆเพียงหน้าเดียว ใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารทั้งภายในและนอก • ช่วยการตัดสินใจถึงสิ่งที่จะวัดและการเลือกตัวชี้วัด

  23. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการSLMมี 2 ฉบับ • ฉบับผู้บริหาร แสดงเฉพาะวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ ดังตัวอย่างข้างซ้าย • ฉบับผู้จัดการ แสดงกลยุทธ์สำคัญใต้กล่องวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ด้วย • SLM เป็นฉบับที่ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้โดย CEO

  24. ข้อสังเกตเกี่ยวกับแผนที่ฯฉบับปฏิบัติการ(Strategic Linkage Model - SLM) • จากแผนที่ยุทธศาสตร์หลัก ผู้บริหารเลือกทางเดินที่คาดว่าจะทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่สะดวกรวดเร็วที่สุด เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ภายในเวลาสั้นที่สุด • แผนที่ฉบับนี้จะมีวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์จำนวนน้อยกว่าแผนที่หลัก เท่าที่จำเป็นใช้ในช่วงเวลาที่กำหนด • กำหนดเงื่อนไขเวลาการใช้แผนที่ฉบับนี้ไว้ที่ประมาณ 2 ปี เป็นการตัดตอนระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแผนที่ยุทธศาสตร์หลัก (4 ปี) • ในช่วงเวลานี้ สามารถปรับแผนที่ฉบับปฏิบัติการได้ ถ้าการดำเนินงานส่อเค้าว่างานจะไม่เป็นไปตามแผน • การใช้ประโยชน์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ จะกระทำที่แผนที่ฉบับนี้

  25. การใช้SLM เป็นศิลปะของการบริหาร • SLM จะมีประโยชน์สูงสุด ต่อเมื่อสามารถก่อให้เกิดการเสริมพลัง (Synergistic Effect) ระหว่างแผนงานขององค์กรที่หลากหลายทุกภาคส่วน ภายใต้แผนฯร่วมที่มีทิศทางไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน • กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือการทำให้ผลรวมมีมูลค่าสูงกว่าผลลัพธ์ย่อยๆของแต่ละองค์ประกอบรวมกัน หรือทำให้ 1+ 1 = 4

  26. สรุป แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ คืออะไร? คือจุดหมายปลายทาง + ภาพความเชื่อมโยงระหว่างวัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด และ การบริหารจัดการ

  27. ระบบ/บริหารจัดการเครือข่ายดีระบบ/บริหารจัดการเครือข่ายดี ระบบ จัดการการเรียนรู้ดี บริหารจัดการนวัต กรรมดี ระบบสนับ สนุนดี บริการดี โครงสร้างในระบบราชการได้มาตรฐาน+บุคลากร/แกนนำมีทักษะ+วัฒนธรรมองค์กรเอื้ออำนวย+ระบบข้อมูลทันสมัย/มีมาตรฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ทำให้ได้องค์กรผลงานสูง (High-performance Organization) = มีวิสัยทัศน์ร่วม + ประชาชนสามารถแสดงบทบาท+พันธมิตรแข็งแกร่ง+บริหารจัดการดี+รากฐานแข็งแรง วิสัยทัศน์ / พันธะกิจ • ประชาชนสามารถแสดงบทบาท • สร้างกระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยอาศัยโครงการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชน • ระบบเฝ้าระวังของชุมชน มาตรการทางสังคม • ชุมชนที่เข้มแข็ง  บุคคลในชุมชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง สิ่งสนับสนุน/ต่อต้าน ผลตอบแทนทางยุทธศาสตร์ พันธมิตรแข็งแกร่ง: มีเครือข่ายกว้างขวาง มีการเสริมกำลังกัน มีระบบสื่อสารมีประสิทธิภาพ มีรูปแบบความสัมพันธ์และข้อตกลงชัดเจน

  28. ขั้นตอนที่ 3(4) ตรวจสอบโครงการ

  29. วิเคราะห์ความสามารถตอบสนองของโครงการต่อยุทธศาสตร์วิเคราะห์ความสามารถตอบสนองของโครงการต่อยุทธศาสตร์ • นำโครงการต่างๆขององค์กร/สถาบัน/พื้นที่ มาทดสอบกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) • การตรวจสอบกระบวนการสำคัญของโครงการกับยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ • 1.ถอดกระบวนการหรือกระบวนงานของทุกโครงการ • 2. จัดอันดับ (Grading) • 3. ทดสอบกระบวนการกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM)

  30. การตรวจสอบความสอดคล้องของโครงการกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การตรวจสอบความสอดคล้องของโครงการกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ กระบวนงานในโครงการ * * * สร้างใหม่ 1 โครงการ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์นี้ * * * ปรับโครงการเดิมให้สามารถตอบสนองวัตุถุประสงค์นี้เพิ่มขึ้น * *คะแนนต่ำกว่า 1/3 (หรือ 40) ของคะแนนสูงสุดในคอลัมน์(130)

  31. ขั้นตอนที่ 4 สร้างกลุ่มงานและวางตัวผู้รับผิดชอบ

  32. การกำหนดกลุ่มงาน (Job Families) ในงานโภชนาการชุมชน โครงการโภชนาการโดยชุมชน กองทุนสุขภาพ/ข้อบัญญัติท้องถิ่นสนับสนุนงานโภชนาการ งานโภชนาการบูรณาการกับแผนชุมชน 4 อบต ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ มีกิจกรรมบูรณาการที่สร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย อสม / แกนนำมีทักษะพิเศษ 2 กระบวนการโภชนาการชุมชน กระบวนการสื่อสารข้อมูลโภชนาการสู่สาธารณะ วางเครือข่ายกับ อสม / NGO 3 นวัตกรรมต่อยอดองค์ความรู้ แบบจำลองความร่วมมือของชุมชน นโยบายโภชนาการในทุกระดับ วัตถุประสงค์เชื่อมโยง 1 ระบบสารสนเทศที่ดี /ทันสมัย ศักยภาพบุคลากร/ แกนนำเหมาะสมกับงานโภชนาการ ผจก.กลุ่มงาน

  33. การจัดรูปองค์กรตามภารกิจ (Functional Organization)

  34. ชั้นตอนที่ 5 (1) สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM)

  35. กลุ่มงานต่างๆสร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) • แผนปฏิบัติการแต่ละฉบับเป็นการตอบสนองวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เฉพาะประเด็นที่กำหนดโดยผู้บริหาร • ตัดตอนมาจากจุดหมายปลายทางและ วัตถุประสงค์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) เฉพาะส่วนที่กลุ่มงานได้รับมอบหมาย • แสดงกลยุทธ์สำคัญที่กลุ่มงานใช้ตอบสนองวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1 กลยุทธ์ ต่อ 1 วัตถุประสงค์) • กลยุทธ์มีความเหมาะสมกับประเด็นที่กำหนดและจุดหมายปลายทาง • แลกเปลี่ยนเพื่อทราบระหว่างผู้ปฏิบัติ

  36. ขั้นตอนที่ 5(2) สร้างตัวชี้วัด

  37. ทำความรู้จักกับตัวชี้วัด ประเภทที่ 1 แสดงผลลัพธ์สุดท้าย (Outcome) ของการเปลี่ยนแปลง ใช้ชื่อว่า • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator - KRI ) ประเภทที่ 2 แสดงผลการปฏิบัติ (Performance) ใช้ชื่อว่า • ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator - PI ) ประเภทที่ 3 แสดงปฏิบัติการสำคัญที่ส่งผลต่อวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ เป็นลูกโซ่ใช้ชื่อว่า • ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator - KPI )

  38. ความสัมพันธ์ของผลงาน ผลสำเร็จ และผลลัพธ์ เป้าประสงค์ ผลลัพธ์(KRI) โอกาส อุปสรรค โครงการ ค ผลสำเร็จ (KPI) ผลงาน(PI) โครงการ ข ผลสำเร็จ(KPI) ผลงาน(PI) โครงการ ก กลุ่มเป้าหมายเดี่ยว

  39. ความสัมพันธ์ของผลงาน ผลสำเร็จ และ ผลลัพธ์ เป้าประสงค์ ผลลัพธ์(KRI) โอกาส / อุปสรรค ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ(KPI) 1 2 3 ผลงาน(PI) 1 2 3 โครงการ 1 2 3 งบประมาณ 1 2 3 กลุ่มเป้าหมาย 1 2 3

  40. ข้อสังเกตเกี่ยวกับตัวชี้วัดผลลัพธ์ (KRI) • KRI แสดงว่า “เราได้ทำอะไรไปแล้ว” ( Output / Outcome ) • มีลักษณะเป็นอดีต ( Historical ) • เป็นผลรวมของกระบวนการต่างๆหลายอย่าง ไม่สามารถระบุที่มาที่ไปได้ • ไม่บอกว่า “ได้ทำ(process) อย่างไร ใครทำ” จึงใช้ปรับทิศทางไม่ได้ • เหมาะสำหรับรายงานผู้บริหารระดับสูงหรือสังคมทั่วไปที่ไม่ต้องการรายละเอียด แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้มีหน้าที่บริหารจัดการ

  41. ข้อสังเกตเกี่ยวกับตัวชี้วัดผลงาน (PI) • แสดงว่า “ต้องทำอะไรบ้าง” แต่ไม่บอกว่าอะไรมีความสำคัญสูงสุด • มีจำนวนมาก อยู่ระหว่าง KRI กับ KPI • เป็นเครื่องชี้วัดที่กรมกองต่างๆสร้างขึ้นสำหรับควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือวางแผนงบประมาณ • ใช้ได้ทั้งเพื่อแสดงอดีต(ผลงานที่ผ่านมา)หรือปัจจุบัน(กำลังทำอะไรอยู่)

  42. ข้อสังเกตเกี่ยวกับตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) • มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคต เท่านั้น --“เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” • ใช้ติดตามงานที่เกิดขึ้นเป็นรายวัน/ทุกวัน หรือเป็นปัจจุบัน ( Real Time) • ต้องมีการติดตาม ตอบสนองโดยผู้บริหารระดับ CEO • ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องเข้าใจเครื่องชี้วัดและรู้วิธีแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา • สามารถหาผู้รับผิดชอบในระดับต่างๆได้เมื่อเกิดปัญหา • มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญและกว้างขวาง(หลายมุมมอง)

  43. ตำแหน่งและสัดส่วนของตัวชี้วัด KPI 10 % PI 80 % KRI 10 %

  44. ใช้ตัวชี้วัดเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของงาน • สำหรับผู้จัดการ • การวัดเพ่งเล็งวัดเฉพาะวัตถุประสงค์ที่กำหนดใน SLM ประกอบด้วย 2 ชนิดที่ต้องวัดคู่กัน • วัดความก้าวหน้าของกิจกรรม • วัดผลที่ได้จากการทำกิจกรรมนั้น • วัดเฉพาะ KPI ของแต่ละกล่องวัตถุประสงค์เท่านั้น สำหรับผู้บริหาร • หา”หัวใจของความสำเร็จ CSF”ให้พบ แล้วติดตาม KPI เฉพาะส่วนนั้นในการติดตามผล จะใช้เพียง 1-2 ตัว ผลลัพธ์ กิจกรรม

  45. ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบระบบปฏิบัติการ

  46. การทดสอบระบบปฏิบัติการการทดสอบระบบปฏิบัติการ • เพื่อทดสอบการตอบรับกันระหว่างกลุ่มงานในเชิง เนื้อหาและจังหวะเวลา • การทดสอบนี้จะพิสูจน์ให้เห็นความร่วมมือประสานงานโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือ • รายละเอียดของการปฏิบัติการจะตรวจสอบได้จากตารางนิยามวัตถุประสงค์ที่ทุกกลุ่มงานต้องทำไว้ • ปฏิบัติการทั้งหมดติดตามได้จากตัวชี้วัดผลสำเร็จประจำกลุ่มงาน • ข้อบกพร่องต่างๆที่อาจพบได้ในแผนที่ยุทธศาสตร์ก็จะค้นพบได้จากการทดสอบนี้

  47. การทดสอบระบบการพัฒนาตลาดชุมชนการทดสอบระบบการพัฒนาตลาดชุมชน CEO คุณสุจิตรา ผุ้จัดการกลุ่มงาน : คุณพิเชฎฐ์ คุณปัญญาคุณไพโรจน์คุณถวิล ผู้ประสานงาน คุณสมชาย คุณสุกัญญา คุณมะลิจันทร์ (4) จัดอบรมและศึกษาดูงานการตลาดชุมชน ภาครัฐ ท้องถิ่น (2)จัดเวทีประชาคม

  48. ขั้นตอนที่ 7 ตั้งปณิธานส่วนบุคคล

  49. การตั้งปณิธานส่วนบุคคล พันธมิตร วิภา ผู้จัดการ. ...................... หัวหน้าหน่วยงาน/กลุ่มงาน,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,, ปฏิบัติการ รายละเอียดบทบาท การพัฒนาที่ต้องการ น.น. % ตัวชี้วัด KPI การกระทำ หรืองาน (Action / Task) ทีมผู้รับผิดชอบ สมรรถนะ /ความสามารถ กิจกรรม เป้าหมาย แผนการพัฒนา 1............. 2............. . • ............. • ............. • ............. • ............. • ............. • ............. • ........... • ............ • “”””””” • “”””””” • “””””” • ....... วันเพ็ญ 1............. 2............ .3............. 4 พัฒนาตนเอง นงเยาว์

  50. การควบคุมงานระหว่างองค์กร หน่วยงาน ก หน่วยงาน ข ผู้บริหารผู้รับผิดชอบ..............ตำแหน่ง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ของ SLMที่สอดคล้องกันในแต่ละองค์กรจะนำมาเข้าตารางสำหรับควบคุมงานของผู้บริหารผู้ได้รับมอบหมาย วัตถุประสงค์ น.น. ตัวชี้วัด เป้าหมาย 75% • .......... • ........ 25% • ........ • ........

More Related