1 / 58

การสืบค้นสารนิเทศ Information Retrieval

การสืบค้นสารนิเทศ Information Retrieval. ความรู้เรื่องสารนิเทศ. สารนิเทศ หมายถึง ข้อความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง สิ่งที่เห็นได้ เหตุการณ์ ความคิด และสิ่งเหล่านี้ได้เก็บบันทึกในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และ โสตทัศน์อื่น. ความสำคัญของสารนิเทศ. การประกอบอาชีพ การศึกษา อุตสาหกรรม

Download Presentation

การสืบค้นสารนิเทศ Information Retrieval

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval

  2. ความรู้เรื่องสารนิเทศความรู้เรื่องสารนิเทศ • สารนิเทศ หมายถึง ข้อความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง สิ่งที่เห็นได้ เหตุการณ์ ความคิด และสิ่งเหล่านี้ได้เก็บบันทึกในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และ โสตทัศน์อื่น

  3. ความสำคัญของสารนิเทศ • การประกอบอาชีพ การศึกษา อุตสาหกรรม • การเข้าถึงสารนิเทศget the right information, to the right person at the right time • การวางแผน การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ

  4. การใช้สารนิเทศอย่างเหมาะสมการใช้สารนิเทศอย่างเหมาะสม • ต้องถูกต้องและทันสมัยที่สุด • ส่งถึงผู้ต้องการในรูปแบบ ที่เหมาะสม • ถึงในเวลาอันเหมาะสม

  5. ยุคข่าวสารข้อมูล(Information Age) • เทคโนโลยีสารสนเทศ • โลกาภิวัฒน์(Globalization) • ทางด่วนข้อมูล(Information Superhighway) • สังคมข่าวสาร(Information Society) • ห้องสมุดหรือ ศูนย์สารนิเทศ • ห้องสมุดเสมือน(Virtual Library)

  6. แหล่งสารนิเทศ 1. ศูนย์ข้อมูล หรือศูนย์สารนิเทศ 2. บุคคล 3. สถานที่ 4. หอสมุด

  7. หอสมุดหรือห้องสมุด • ห้องสมุดในปัจจุบันและอนาคตได้นำเอา เทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้ใน การบันทึก จัดเก็บ สืบค้นข้อมูล และการ ดำเนินงาน

  8. ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บหนังสือระบบที่ใช้ในการจัดเก็บหนังสือ • ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือระบบ D.C. เช่น 920.547 ก214ท • ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือ ระบบ LC เช่นC458.23ก214ท

  9. การเรียงหนังสือของห้องสมุดการเรียงหนังสือของห้องสมุด • หนังสือจะเรียงตาม เลขเรียกหนังสือ • เลขเรียกหนังสือ (Call Number) เลขหมู่หนังสือ และ เลขผู้แต่ง HE7709HE7709 A527Fก527ส 20022545 ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย

  10. การเรียงหนังสือระบบ L.C. • H HA HE HF……………… HZ • HE7709 HE7710 HE7711 HE7713 • HE7709 HE7709HE7709A527F A618F A792F • HE7709 HE7709HE7709 A527F A527H A527P

  11. การเรียงวารสารภาษาไทย-อังกฤษการเรียงวารสารภาษาไทย-อังกฤษ • วารสารจัดเรียงตามลำดับอักษรของชื่อวารสาร เรียงจาก ซ้ายไปขวาเช่น • ดิฉัน ทีวีพูล แพรว แม่และเด็ก อนุสาร อ.ส.ท. • Advertising, Marketing,NewsWeek, Times • วารสารสามารถยืมกลับได้ เฉพาะวารสารฉบับล่วงเวลา โดยยืมได้ 3 วัน ทั้งวารสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

  12. หนังสืออ้างอิง • เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นเป็นพิเศษ สำหรับใช้ค้นคว้าข้อเท็จ จริงบางประการ เรียบเรียงเนื้อหาไว้อย่างมีระเบียบ เช่น เรียงตามลำดับตัวอักษร • เป็นหนังสือที่จำกัดให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น • ที่เลขเรียกหนังสือ มีอักษร อ หรือ R หรือRef อยู่บน เลขหมู่หนังสือ

  13. ประเภทของหนังสืออ้างอิงประเภทของหนังสืออ้างอิง • พจนานุกรม เช่น พจนานุกรมทั่วไป พจนานุกรมเฉพาะวิชา พจนานุกรมภาษาเดียว พจนานุกรมสองภาษา พจนานุกรมคำตรงกันข้าม • สารานุกรม( Encyclopedias ) แบ่งเป็น สารานุกรมทั่วไป และ สารานุกรมเฉพาะสาขาวิชา

  14. หนังสือรายปี(Yearbooks, Almanacs, Annuals ) • นามานุกรม ( Directories ) • อักขรานุกรมชีวประวัติ ( Biographical Dictionaries ) • หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ เช่น อักขรานุกรม ภูมิศาสตร์ หนังสือนำเที่ยว หนังสือแผนที่

  15. การสืบค้นวัสดุและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุดการสืบค้นวัสดุและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด • ฐานข้อมูลเป็นการนำข้อมูลจำนวนมากมาเก็บไว้ในที่เดียวกันโดยใช้คอมพิวเตอร์หรือใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาช่วยในการจัดเก็บ แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ • 1. ฐานข้อมูลระบบออนไลน์ • 2.ฐานข้อมูล ซีดี-รอม • 3.ฐานข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศที่ห้องสมุดสร้าง

  16. 1. ฐานข้อมูลระบบออนไลน์ • การเข้าถึงข้อมูลระบบออนไลน์สามารถค้นได้โดยใช้อินเตอร์เน็ต(Internet) ซึ่งผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้อย่างรวดเร็วได้ข้อมูลทั้งข้อความภาพและเสียง • ข้อมูลที่ได้รับมีความทันสมัยกว่าข้อมูลในหนังสือวารสารเพราะไม่ต้องเสียเวลาตีพิมพ์สามารถเพิ่มข้อมูลใหม่ได้ตลอดเวลา • การสืบค้นแบบออนไลน์ที่ได้รับความนิยมคือค้นผ่านWWW (World Wide Web) ผู้ใช้ต้องทราบURLของเรื่องที่ต้องการค้น

  17. 2. ฐานข้อมูลซีดี-รอม (CD-ROM) • เป็นการเก็บข้อมูลลงบนแผ่นดิสก์ที่ทำด้วยโลหะอลูมิเนียมหรือโลหะเงิน สามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมากการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลสามารถค้นได้รวดเร็วกว่าระบบออนไลน์และสามารถค้นซ้ำๆกันได้ตัวอย่างเช่นMicrosoft Encarta Encyclopediaเป็นสารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยได้รับความนิยมผู้ใช้สามารถค้นหาความหมายคำอธิบายคำศัพท์พร้อมทั้งรูปภาพเสียงภาพเคลื่อนไหวและวีดิทัศน์ด้วย

  18. 3. ฐานข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศที่ห้องสมุดสร้าง • การสืบค้นสารนิเทศของห้องสมุดต่างๆ • ในปัจจุบันโดยเฉพาะห้องสมุดมหาวิทยาลัยใช้สืบค้นด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยระบบอัตโนมัติ OPAC ( Online Public Access Catalog) • ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้เรื่องการเรียงลำดับอักษรเพื่อค้นจากบัตรรายการ

  19. OPAC (Online Public Access Catalog) • ผู้ใช้บริการห้องสมุดหรือบรรณารักษ์ สามารถสืบค้นผ่านคอมพิวเตอร์ในห้องสมุด หรือเป็นระบบค้นหารายการหนังสือในห้องสมุดโดยใช้ระบบว่าใช้คอมพิวเตอร์ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ตได้ ฯลฯ

  20. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

  21. BUCatคืออะไร BUCatเป็นโปรแกรมที่ใช้แทนบัตรรายการซึ่งจะช่วยให้หาหนังสือบทความหรือสิ่งที่ต้องการในห้องสมุดได้สะดวกและรวดเร็วด้วยการค้นหาจากคำสำคัญ (Keyword) ตามที่ต้องการ

  22. ค้นหาด้วยBUCat 1. Onsite : ที่ห้องสมุด 2. Remote Access : ผ่านอินเตอร์เน็ต

  23. Onsiteที่ห้องสมุด มีเครื่อง BUCatให้บริการทุกชั้น

  24. BUCatเมนูหลัก

  25. การค้นหาหนังสือ Title Search

  26. การค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญของชื่อเรื่องการค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญของชื่อเรื่อง

  27. ตรวจสอบข้อมูลที่ต้องการทุกครั้งตรวจสอบข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ข้อมูลบรรณานุกรม นำเลขเรียกหนังสือ Call Number ไปหาหนังสือที่ชั้น

  28. การจองหนังสือ และ การยืมหนังสือข้ามวิทยาเขต • ให้จดเลขทะเบียน เช่น 200310280001 ไปติดต่อเคาน์เตอร์บริการยืม-คืน เพื่อแจ้งต้องจอง หรือ ยืมข้ามวิทยาเขต • หนังสือที่ยืมข้ามวิทยาเขต ให้มาติดต่อรับหนังสือได้ภายในวันรุ่งขึ้น

  29. Search Tips ค้นหาด้วยคำสำคัญจากชื่อหนังสือ สำหรับภาษาอังกฤษ ให้ละคำนำหน้า จำพวกa, an, the, la , etc. เช่น tale of two ค้นหา A Tale of Two Cities readings in manage ค้นหา Readings in Management

  30. การค้นข้อมูลจากผู้แต่งการค้นข้อมูลจากผู้แต่ง

  31. Search Tips การค้นหาด้วยผู้แต่ง ใช้เฉพาะ นามสกุล หรือ ชื่อ เช่น AUSTEN หรือ JANE เพื่อค้นหา Jane Austen ใช้ นามสกุล และ ชื่อ เช่น AUSTEN,JANE เพื่อค้นหา JaneAusten ใช้เครื่องหมาย COMMA คั่นระหว่าง นามสกุล และ ชื่อ

  32. การค้นข้อมูลจากบทความวารสารการค้นข้อมูลจากบทความวารสาร

  33. การค้นจากคำสำคัญ (Key Words)

  34. จดข้อมูล:ชื่อบทความ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ หน้า

  35. การบริการวารสาร • การจัดทำดัชนีวารสารสำนักหอสมุดได้ทำเฉพาะวารสารภาษาไทย • ดัชนีวารสารภาษาอังกฤษหาสามารถค้นได้ทางออนไลน์ หรือฐานข้อมูลซีดีรอม เช่น ABI /Inform ซึ่งจะได้ข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full-Text) • วารสารทุกประเภทจัดเรียงตามอักษรของชื่อวารสาร • สามารถยืมวารสารฉบับเก่าได้ ยกเว้นวารสารเย็บเล่ม

  36. การบริการและการเก็บหนังสือพิมพ์การบริการและการเก็บหนังสือพิมพ์ • หนังสือพิมพ์ทุกฉบับจัดเก็บไว้ 1 เดือน • หนังสือพิมพ์บางฉบับตามรายชื่อที่แจ้งไว้ที่เคาน์เตอร์วารสารเก็บไว้ 1 ปี คือ ปีปัจจุบัน จะมีหนังสือพิมพ์ ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนปัจจุบัน • หนังสือพิมพ์บางฉบับตามข้างต้นจะเก็บของปีที่แล้ว ทุกฉบับ ตั้งแต่เดือน มกราคม 2551 – ธันวาคม 2551

  37. การค้นข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ : NEWScenter • การค้นหาข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ใหม่ ๆ ให้ค้นหา ฐานข้อมูลNewscenter ซึ่งเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่รวบรวมข่าวปัจจุบัน และข้อมูลข่าวประมาณ 10 ปีจากหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ -ข่าวจากสำนักข่าวไทย -ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย -ข้อมูลเสริม เช่น หน่วยงานราชการ ข้อมูลวิจัย กฎหมาย ต่างๆ

  38. การตรวจสอบการค้างส่ง การจองหนังสือด้วยตัวเอง

  39. การค้นข้อมูลสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยกรุงเทพการค้นข้อมูลสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผ่านอินเตอร์เน็ต http://library.bu.ac.th

  40. ค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต

  41. สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยกรุงเทพสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

  42. Online Catalog : ค้นหาหนังสือ โสตฯ วารสาร

  43. การค้นโดยใช้ Basic search

  44. การค้นโดยใช้ Basic search

  45. Online Service : ค้างส่ง เสนอซื้อ จอง ยืมต่อ

  46. Check out list : การค้นหารายการค้างส่งหนังสือ

  47. รายการยืมหนังสือ: จำนวน แจ้งวันกำหนดส่ง

  48. การเสนอซื้อหนังสือ วารสาร โสตฯ เข้าห้องสมุด

  49. BU-Online : ฐานข้อมูล online

  50. E-News, Online Journal, Video on Demand, Online Database, Tape Online

More Related