1 / 20

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย. โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS. มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ความสูง 649 กิโลเมตร

istas
Download Presentation

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัยการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS • มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ความสูง 649 กิโลเมตร • กล้อง CCD 4 แถบความถี่ (NIR, Red, Green, Blue) ที่ความละเอียด 30 เมตรต่อจุด ความกว้างของภาพ 711 กิโลเมตร • กล้อง Hyper-Spectrum (HSI) มีแถบความถี่ 115 ความถี่ ที่ความละเอียด 100 เมตรต่อจุด ความกว้างของภาพ 51 กิโลเมตร ดาวเทียม SMMS ภาพถ่ายดาวเทียมจาก กล้อง CCD ภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-Spectrum

  3. โอกาสในการถ่ายภาพประเทศไทยของดาวเทียม SMMS ดาวเทียม SMMS มีวงโคจรพาดผ่านประเทศไทยเกือบทุกวัน (รวม 20 รอบในเวลา 31 วัน แล้วจะวนรอบซ้ำอีกครั้ง)

  4. ตัวอย่างการถ่ายภาพพื้นที่ประเทศไทยของดาวเทียมSMMS ภายในครั้งเดียว 4/1/10 14/11/09 19/11/09

  5. ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD ต่างกันเพียง 2.16 เปอร์เซ็นต์ ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม ThEOSช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม SMMSช่วงเดือนมีนาคม 2553 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  6. ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD • กรมทรัพยากรน้ำ นำไปใช้ทดแทนข้อมูลดาวเทียม LANDSAT และ MODIS เพื่อวิเคราะห์ความแห้งแล้งของพื้นที่ ซอฟต์แวร์ประมวลผลข้อมูลความแห้งแล้งของพื้นที่ ที่มา: กรมทรัพยากรน้ำ

  7. ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI พื้นที่เพาะปลูกข้าว จากการแยกแยะด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS พื้นที่เพาะปลูกข้าว จากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภาพถ่ายบริเวณที่ทำการตรวจสอบในจังหวัดพะเยา การแยกแยะข้าวด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS มีความถูกต้อง 64.79 เปอร์เซ็นต์

  8. สภาวะภัยพิบัติกับภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจโลกสภาวะภัยพิบัติกับภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจโลก จัดทำแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติหรือประเมินปัจจัยเสี่ยงภัย ติดตามสภาวะการฟื้นฟู จำลองสถานการณ์และประเมินพื้นที่เสี่ยงภัย ประเมินพื้นที่เสียหาย

  9. การสร้างแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติการสร้างแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติ

  10. ตัวอย่าง Dynamic Hazard Map ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิษฐ์ created by APIt Map that update from satellite image factor (Rainfall Landuse Elevator and Slop)

  11. การประเมินความชุ่มชื้นในดิน ด้วยภาพถ่าย HSI บนดาวเทียม SMMS เพื่อใช้การวิเคราะห์ภัยพิบัติ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างย่านความถี่และความชุ่มชื้นในดินที่ระยะความลึก (ที่ระยะ 30และ 60 เซนติเมตร)

  12. การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และลุ่มน้ำ การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และลุ่มน้ำ จากรูป จะเห็นได้ว่า บริเวณพื้นที่รอบเขื่อน จะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน นั้นคือ พื้นที่ที่เป็นป่าไม้ มีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งโดยปกติ การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงสามารถทำได้โดยใช้ ซอฟต์แวร์ประมวลผล ในการวิเคราะห์ Change Detection ที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งพื้นที่ป่าไม้ หรือลุ่มน้ำ ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2552 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2553 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2553

  13. ข้อมูลการวิเคราะห์แหล่งน้ำในเขื่อนศรีนครินทร์ ด้วยดาวเทียม SMMS (จากกรมทรัพยากรน้ำ) 2009/11/10 2009/05/22 2009/03/06 2009/04/02 2009/11/14 2010/01/15 2010/01/04 2010/01/19

  14. การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการสื่อสารโทรคมนาคมการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการสื่อสารโทรคมนาคม • สามารถนำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมไปใช้ในการวางแผนการสร้างระบบสื่อสารในหลายๆ หน่วยงาน เช่น • หน่วยงานความมั่นคง • TOT, CAT • การรถไฟแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้า การประปา ตำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์สื่อสาร ตัวอย่างการวางแผนการติดตั้งโครงข่ายสื่อสารตามเส้นทางรถไฟ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  15. การบูรณาการข้อมูล CCD ของดาวเทียม SMMS ร่วมกับข้อมูล GDEM และข้อมูล GIS พื้นฐาน การจำลองสถานการณ์น้ำ • การออกแบบติดตั้งระบบสื่อสารสำรอง

  16. 1.ซอฟต์แวร์ KU-MET สำหรับพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และสถานีวัดน้ำฝน 2.ศึกษาเงื่อนไขและแนวคิดในการเลือกเงื่อนไขการกรองข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อสร้างแบบจำลอง 3.การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน สำหรับใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โมเดลน้ำท่วม หรือสภาวะภัยแล้ง

  17. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้ในภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขสภาวะภัยแล้งตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้ในภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขสภาวะภัยแล้ง HJ-1A Earth Observation Satellite Rainfall Estimation Model FY-2C/E Meteorological Satellite GSMaP Effective Rain Making Operations Drought Risk Assessment Model Drought Risk Map

  18. Thank You for Your Attention Question?? facebook.com/SMMSThailand

More Related