1 / 31

ปรัชญาการศึกษา ( Philosophy of Education ) โดย ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข

ปรัชญาการศึกษา ( Philosophy of Education ) โดย ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข. ปรัชญาการศึกษา. ปรัชญาพื้นฐาน หรือ ปรัชญาบริสุทธิ์. ปรัชญาประยุกต์. เป้าหมายของการศึกษา. วิธีการ จัดการเรียนรู้. ผู้สอน และผู้เรียน. ทักษะและ ทัศนคติที่ควร ถ่ายทอดให้ผู้เรียน. เนื้อหาสาระที่ ควรถ่ายทอด

ivan
Download Presentation

ปรัชญาการศึกษา ( Philosophy of Education ) โดย ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปรัชญาการศึกษา (Philosophy of Education) โดย ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข

  2. ปรัชญาการศึกษา ปรัชญาพื้นฐาน หรือ ปรัชญาบริสุทธิ์ ปรัชญาประยุกต์ เป้าหมายของการศึกษา วิธีการ จัดการเรียนรู้ ผู้สอน และผู้เรียน ทักษะและ ทัศนคติที่ควร ถ่ายทอดให้ผู้เรียน เนื้อหาสาระที่ ควรถ่ายทอด ให้ผู้เรียน

  3. ความหมายของ Philosophy Sophia Philosophy Philos  ความรักในความรู้ ความรักใน ความปราดเปรื่อง รักหรือความรัก ความหมายของ Philosophy

  4. บทบาทของปรัชญาการศึกษา บทบาทของปรัชญา ที่เป็นระบบ บทบาทของปรัชญา การศึกษา บทบาทของปรัชญา ที่เป็นกิจกรรม

  5. เป็นสาขาวิชาหนึ่ง เริ่มจากมนุษย์เริ่มสงสัยต่างๆ เกี่ยวกับธรรมชาติ ความเป็นมาของ ปรัชญา พยายามหาคำตอบจากการ คาดคะเน ปรับปรุง พยายาม ปรัชญา

  6. ไม่ให้ความรู้ใหม่ เป็นวิธีของการมองความรู้ หรือปัญหา วิธีการมองปรัชญา ได้คำตอบก็กำหนดเป็น ปรัชญาชีวิต การทำงาน

  7. อภิปรัชญา Metaphysic หรือ Ontology ขอบข่ายของ ปรัชญาบริสุทธิ์ ญาณวิทยา Epistemology คุณวิทยา Axiology ปรัชญาเป็นการวินิจฉัยปัญหาหรือพิจารณาวิเคราะห์ความรู้ที่มีอยู่

  8. เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยความจริงแท้ ความจริง คืออะไร (What is reality?) หาความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติของจักรวาล ชีวิตมนุษย์ อภิปรัชญา Metaphysic เกี่ยวข้องกับการศึกษาเป็นการค้นคว้า หาคำตอบ และเรียนรู้เพื่อหลักความจริง เชื่อว่าธรรมชาติที่แท้จริงของคนคือจิต (Mind)

  9. ทฤษฎีที่ว่าด้วยความรู้ทฤษฎีที่ว่าด้วยความรู้ เน้นว่าเรารู้ความจริงได้อย่างไร? (How to know reality?) ญาณวิทยา Epistemology เกี่ยวกับการศึกษา คือ เชื่อว่า การได้ความรู้มี 2 อย่างคือ - ประจักษ์นิยม - การคิดขึ้นเอง

  10. ทฤษฎีที่ว่าด้วยคุณค่าทฤษฎีที่ว่าด้วยคุณค่า เน้นจริยศาสตร์ ศีลธรรม คุณงามความดี คุณวิทยา Axiology เกี่ยวกับการศึกษา ถือว่า - คุณค่าหรือค่านิยมเป็นคุณค่า ในตัวของสิ่งนั้นๆ - สังคมยึดถือค่านิยมใดก็ ถ่ายทอดอบรมคนในแนวนั้น

  11. ปรัชญาพื้นฐาน ปรัชญา จิตนิยม Idealism ปรัชญา สัจนิยม / วัตถุนิยม Realism ปรัชญา ประสบการณ์ นิยม Experimentalism ปรัชญา อัตถิภาวนิยม Existentialism

  12. เชื่อว่าความคิดคือความจริงแท้ เชื่อว่าความคิดคือความจริงแท้ ความรู้เกิดจากเหตุผล ความเชื่อของมนุษย์คือจิตวิญญาณ ปรัชญาจิตนิยม Idealism แนวคิดทางการศึกษา - ปัญญาคู่คุณธรรม - หลักสูตรเน้นการฝึกจิต - การสอนเน้นการหาเหตุผล ครูประสานความรู้กับผู้เรียน - เป็นปราชญ์ที่มีคุณธรรม

  13. ความจริงคือวัตถุอยู่นอกจิต ความจริงคือวัตถุอยู่นอกจิต ความรู้ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิดไม่มี คุณค่าของมนุษย์คือ ความสุขทางกาย ปรัชญาสัจนิยม / วัตถุนิยมRealism เกี่ยวกับการศึกษา - ชีวิตที่ดีคือชีวิตที่มีสุข - หลักสูตรเน้น วิทย์ คณิต ภาษา - วิธีสอนให้คุ้นเคยกับธรรมชาติ การวัดผลใช้ความเป็นปรนัย ครูต้องมีความรู้ดี เสนออย่างเป็นระบบ

  14. ความจริงแต่ละคนสร้างขึ้นเอง ความจริงแต่ละคนสร้างขึ้นเอง ความรู้บุคคลเป็นผู้สร้าง คุณค่า บุคคลเป็นผู้ตัดสินคุณค่า ด้านการศึกษา - มุ่งหมายให้บุคคลเป็นตัวของตัวเอง - หลักสูตรให้ผู้เรียนได้เห็นความ เป็นไปรอบตัวเพื่อรู้จักตนเอง - วิธีการเรียนใช้ ถาม – ตอบ ปรัชญา อัตถิภาวนิยม Existentialism ครูเข้าใจเอกภาพของผู้เรียน - สัมพันธ์กับผู้เรียนฐานะมนุษย์ - วัดผลโดยการสะท้อนความเป็นตัวเอง ออกมา

  15. ความมุ่งหมายเพื่อความงอกงาม ความมุ่งหมายเพื่อความงอกงาม หลักสูตรบูรณาการไม่แยกวิชา ปรัชญา พิพัฒนาการนิยม Experimentalism วิธีสอนแบบประชาธิปไตย ครูมีประชาธิปไตย มีวินัย

  16. ปรัชญาการศึกษา ลัทธิปรัชญาการศึกษา 1. ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) 2. ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม (Perrenialism) 3. ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) 4. ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) 5. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)

  17. ปรัชญาการศึกษาสารัตนิยมปรัชญาการศึกษาสารัตนิยม Essentialism • เจ้าของวิลเลี่ยม ซี แบคลี (William C. Bagley) • แนวคิดพื้นฐาน • แนวคิดทางการศึกษา • จุดมุ่งหมาย • องค์ประกอบของการศึกษา - หลักสูตร - ครู - ผู้เรียน - โรงเรียน - กระบวนการเรียนการสอน

  18. ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยมปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม Perrenialism • ต้นคิด คือ อริสโตเติล และ โทมัส อไควนัส • แนวคิดพื้นฐาน • แนวคิดทางการศึกษา • จุดมุ่งหมายของการศึกษา • องค์ประกอบของการศึกษา - หลักสูตร - ครู - ผู้เรียน - โรงเรียน - กระบวนการเรียนการสอน

  19. ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม Progressivism • ต้นคิด คือ ฟรานซิส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์ และ จอนห์น ดิวอี้ • แนวคิดพื้นฐาน • แนวคิดทางการศึกษา • จุดมุ่งหมายของการศึกษา • องค์ประกอบของการศึกษา - หลักสูตร - ครู - นักเรียน - โรงเรียน - กระบวนการเรียนการสอน

  20. ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม Reconstructionism • ผู้นำกลุ่ม จอรัล เอส เคาท์ • ผู้วางรากฐาน ธีโอดอร์ บลาเมลต์ • แนวคิดทางการศึกษา • จุดมุ่งหมายของการศึกษา • องค์ประกอบของการศึกษา - หลักสูตร - ครู - ผู้เรียน - โรงเรียน - กระบวนการเรียนการสอน

  21. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม Existentialism • ผู้กำเนิดแนวคิด คือ ซอเร็น คีเคอร์การ์ด • ผู้นำมาใช้ คือ เอ เอส นีล • แนวคิดพื้นฐาน • แนวคิดทางการศึกษา • จุดมุ่งหมายของการศึกษา • องค์ประกอบของการศึกษา - หลักสูตร - ครู - ผู้เรียน - โรงเรียน - กระบวนการเรียนการสอน

  22. พุทธปรัชญากับการศึกษา (Buddism)  หลักธรรมที่สรุปเนื้อหาแห่งการตรัสรู้  มรดกทางวัฒนธรรม คือ สารัตถะ หรือ แก่นสารของสังคม

  23. 1. อริยสัจสี่  แนวทางให้มนุษย์จัดการกับปัญหาของ มนุษย์ด้วยหลักการและสติปัญญาและมนุษย์เอง

  24. 2. เบญจขันธ์ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ  ขันธ์ 5 ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน และ เปลี่ยนแปลงเสมอ เป็นไปตามกฎแห่งไตรลักษณ์

  25. 3. หลักปฏิจจสมุปปาท หลักแห่งเหตุผลที่แสดงกระบวนการความสำคัญ ของเหตุปัจจัย มี 3 หมวด คือ กิเลส (อวิชชา ตัณหา อุปาทาน) กรรม (สังขาร และ ภพ) วิบาก (วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ชาติ ชรา - มรณะ)

  26. กิเลส สังสารวัฏ วิบาก กรรม กิเลส เป็นเหตุให้ทำกรรมต่างๆ กรรม ก่อให้เกิดวิบาก วิบาก ไม่มีความดีความชั่ว แต่เป็นเหตุ ให้เกิดกิเลสและกรรม

  27. 4. กฎไตรลักษณ์  มุ่งให้มนุษย์ มองสิ่งทั้งหลายตามความ เป็นจริง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

  28. หลักมัชฌิมาปฏิปทาหรือไตรสิกขาหลักมัชฌิมาปฏิปทาหรือไตรสิกขา มุ่งให้ดำเนินทางสายกลาง ซึ่งต้องปฏิบัติข้างเดียวกัน ไปโดยตลอดกับ มรรค มีองค์ 8 ศีล > กาย วาจา (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ) สมาธิ > จิต (สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ) ปัญญา > สมอง (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ)

  29. แนวคิดทางการศึกษาของพุทธปัญญาแนวคิดทางการศึกษาของพุทธปัญญา 1. ความมุ่งหมายของการศึกษา เป็นจุดหมายเกี่ยวกับ ชีวิตผู้มีการศึกษาแล้ว ประกอบด้วย  กายเจริญ(ภาวจิตกาย)  มีพฤติกรรมทางสังคมที่พัฒนาแล้ว (ภาวิตศีล)  ปราศจากอคติและอริชา (ภาวิตปัญญา)

  30. 2. หลักสูตรและเนื้อหาวิชา  พุทธิศึกษาและจริยศึกษา  สุตศิลปศึกษา  พลศึกษา 3. กระบวนการของการศึกษา  ปรโตโฆษะ > ปัจจัยภายนอก  โอทิโสมนสิการ > คิดเป็น  ไตรสิกขา > อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา

  31. สวัสดี

More Related