1 / 25

Plant Morphology สัณฐานวิทยาของพืช

Plant Morphology สัณฐานวิทยาของพืช . Morphos : structure ; logos : a discourse “ the description of the form and structure of plant ” External Morphology = การศึดษา รูปร่างและโครงสร้างที่เราสามารถมองเห็นได้จากภายนอก เช่น ใบ ราก ดอก ผล ลำต้น

jacob
Download Presentation

Plant Morphology สัณฐานวิทยาของพืช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Plant Morphologyสัณฐานวิทยาของพืช Morphos : structure ;logos : a discourse “ thedescriptionoftheformandstructureofplant” ExternalMorphology = การศึดษารูปร่างและโครงสร้างที่เราสามารถมองเห็นได้จากภายนอก เช่น ใบ ราก ดอก ผล ลำต้น InternalMorphology (Histology) = การศึกษาถึงลักษณะของพืชที่จะต้องมีการตัดเนื้อเยื่อและทำการศึกษาใต้กล้องจุลทรรศน์

  2. Plant ; Habit • Habit หมายถึงรูปร่างลักษณะของพันธ์ไม้ที่เห็นในสภาพธรรมชาติ ขึ้นกับคุณสมบัติของลำต้นพืช ได้แก่ ไม้ล้มลุก,ไม้พุ่ม,ไม้ยืนต้น ,ไม้เลื้อยเป็นต้น • มีการจัดแบ่งประเภท Habit หลายวิธี เช่น จัดแบ่งตาม • โครงสร้างและความแข็งของเนื้อไม้ • ช่วงอายุพืช • ถิ่นอาศัย (Habitat)

  3. Plant ; Habit โครงสร้างและความแข็งของเนื้อไม้ • Herbaceous Plantsมีลำต้นอ่อน ได้แก่Herb (ไม้ล้มลุก) • Woody Plants มีลำต้นแข็ง ซึ่งมีลักษณะเป็น • Shrub (ไม้พุ่ม) • Tree(ไม้ยืนต้น) • Climber (ไม้เลื้อย) ลำต้นจะทอดยาวและไม่สามารถทรงตัวได้ต้องอาศัยหลักอื่นทรงตัว • Scandent (ไม้รอเลื้อย) ได้แก่ไม้พุ่มบางชนิด ถ้ามีหลักอยูใกล้จะเปลี่ยนจากไม้พุ่มเป็นไม้เลื้อยได้ เช่น มะลิ เทียนหยด พวงประดิษฐ์

  4. Plant ; Habit โครงสร้างและความแข็งของเนื้อไม้ • Scandent(ไม้รอเลื้อย)

  5. Plant ; Habitช่วงชีวิตพืช • นับช่วงเวลาที่พืชเริ่มออกจากเมล็ดออกดอกออกผลจนต้นตายไปจัดแบ่งได้เป็น • Annuals ช่วงเวลาชีวิตของพืชใช้เวลา 1 ฤดูกาล หรือไม่เกิน 1 ปี • Biennials ช่วงเวลาชีวิตของพืชใช้เวลา 2 ปี • Perennials ช่วงเวลาชีวิตของพืชใช้เวลานานหลายปี ลำต้นของพืชพวกนี้ส่วนที่อยู่เหนือดินอาจจะเหี่ยวแห้งไป แต่เมื่อถึงฤดูกาลหลังจากฝนตกก็จะแตกหน่อใหม่ขึ้นมาจากลำต้นใต้ดิน เช่น พวกขิง ข่า

  6. Plant ; Habitถิ่นอาศัย (Habitat) • สถานที่และสภาพที่พืชต่างๆขึ้นตามธรรมชาติ เช่น บนดิน ในน้ำ หรือบนต้นไม้อื่น แบ่งเป็น • Terrestrial Plant พืชบก คือพืชที่ขึ้นบนดิน • Aquatic Plant พืชน้ำ คือพืชที่ขึ้นในน้ำ • Floating พืชลอยน้ำ รากไม่สัมผัสสิ่งใดๆ จะล่องลอยไปในน้ำ • Submersed พืชที่รากยืดกับโคลนตมใต้น้ำ ใบและต้นจมน้ำ • Immersed พืชที่รากยืดกับโคลนตมใต้น้ำ ใบและดอกชูเหนือน้ำ • Epiphytic Plant พืชที่เกาะอยู่บนต้นอื่นโดยไม่อาศัยอาหาร

  7. Morphology • VegetativeSystem • RootSystem • ShootSystem • Reproductive System • Flower • Fruit • Seed

  8. Shoot System Morphology Root System

  9. โครงสร้างของรากที่แตกต่างจากลำต้นโครงสร้างของรากที่แตกต่างจากลำต้น • ไม่มีตา ใบ ดอก • มีหมวกราก • เหนือปลายรากไปเล็กน้อยจะมีขนราก • บางชนิดไม่มีคลอโรฟิลด์ • มีอาณาเขตการเจริญเติบโตใกล้ปลายราก • มีทิศทางการเจริญแบบ Positive geotropism

  10. Root Function • ดูดอาหาร น้ำ เกลือแร่ • ลำเลียงอาหาร • ยึดเกาะ พยุงลำต้น • ทำหน้าที่พิเศษอื่น ๆ

  11. Root System เป็นส่วนที่อยู่ใต้ดิน ไม่มี ข้อ ปล้อง ตา และใบเกร็ด รากเจริญ มาจาก Radicle ของต้นอ่อนในเมล็ด รากอันแรกที่ดันเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา คือรากแก้ว ( Primary Root) ซึ่งจะแทงลึกลงไปในดินและ รากที่แตกออกไป ด้านข้าง ครั้งแรกเรียก Secondary Root แตกออกไปครั้งที่สองเรียก Tertialy Rootเมื่อแตกออกหลายๆชั้นจะเรียกรวมกันว่า รากแขนง (Lateral Root) Primary Root

  12. Tap root , Fibrous root, Adventitious root • TapRootSystem คือ ระบบรากที่ PrimaryRoot เจริญมีขนาดใหญ่มาก และไม่ค่อยมี SecondaryRoot เช่นพบในรากของพืชพวกหัวผักกาด เป็นต้น

  13. Tap root , Fibrous root, Adventitious root • FibrousRootSystem คือ ระบบรากที่ PrimaryRoot ไม่มีการเจริญหรือ ฝ่อไป แต่ SecondaryRoot เจริญเป็นจำนวนมากเป็นกระจุก แต่ละรากมีขนาด ใกล้เคียงกันจึงเรียก รากฝอย (fibrous root)

  14. Tap root , Fibrous root, Adventitious root • รากพิเศษ (AdventitiousRootSystem)พืชบางชนิดที่ radicle ไม่สามารถเจริญเป็นรากแท้จริงได้ ทำให้พืชต้องปรับตัวโดยสร้างรากจากส่วนอื่นๆแทน เรียกราก ชนิดนี้ว่า AdventitiousRoot • รวมทั้งรากปกติแต่ทำหน้าที่อื่นๆ (Modificationofroots) ด้วย รากกาฝาก (HaustoriaorSuckersofParasites)

  15. รากพิเศษ (Adventitious Root) Haustoria หรือ Suckers of Parasites เป็นรากที่พบได้ในพืชกลุ่มกาฝากซึ่งต้องอาศัยเกาะอยู่บนพืช ชนิดอื่น แล้วสร้างรากแทงเข้าไปในลำต้นของพืชที่อาศัยอยู่ เพื่อดูดเอาน้ำและอาหารมาใช้ เช่นรากกาฝาก ฝอยทอง

  16. Adventitiousroot • ClimbingRootsเป็นรากเกิดที่ข้อลำต้นในพืชที่มีลำต้นเนื้อไม้อ่อน ทรงตัวไม่ได้ต้องอาศัยรากทำหน้าที่เกี่ยวเกาะหลักอื่นๆเพื่อให้ลำต้นเลื้อยไปได้ พบได้ในต้น พริกไท พลูฉีก เป็นต้น ต้นพลู

  17. Adventitious root • ClimbingRootsเป็นรากเกิดที่ข้อลำต้นในพืชที่มีลำต้นเนื้อไม้อ่อนทรงตัวไม่ได้ต้องอาศัยรากทำหน้าที่เกี่ยวเกาะหลักอื่นๆเพื่อให้ลำต้นเลื้อยไปได้ พบได้ในต้น พริกไท พลูฉีก เป็นต้น ต้นพริกไท

  18. Adventitious root • AerialRoots เป็นรากที่ทำหน้าที่ดูดความชื้นและก๊าซจากอากาศพบได้ในต้น กล้วยไม้ที่ผิวรากมีเนื้อเยื่อเก็บความชื้นเรียก velumen รากต้นกล้วยไม้

  19. Adventitious root • PneumatophoreorBreathingrootsเป็นรากที่ทำหน้าที่หายใจ พบในพืชป่าชายเลน (mangroves) โดยพืชจะแทงจากใต้ดินโผล่ขึ้นมาเหนือผิวดิน รากต้นลำพู

  20. Adventitious root • StiltorPropRootsเป็นรากที่เกิดรอบๆฐานของลำต้นบริเวณข้อที่อยู่เหนือดิน เมื่อ รากงอกออกมาจะพุ่งลงดิน เพื่อช่วยพยุงลำต้น เป็นรากพิเศษ ที่พบได้ในต้นข้าวโพด ต้นอ้อย และต้นลำเจียก ส่วนราก ต้นไทร (Ficus) งอกออกจากกิ่งดิ่งลงมายังพื้น เพื่อช่วยในการพยุงลำต้น ต้นลำเจียก

  21. Adventitious root • Storage Rootsเป็นรากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร อาจเกิดจากรากประเภท Tap root หรือ Fibrous root ก็ได้

  22. Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Conicalคือ Tap root มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม โคนรากมีขนาดใหญ่แล้วค่อยๆเรียวเล็กลงไปทางปลายราก เช่นหัวผักกาด หัวแครอท

  23. Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Napiform or Turbinate คือ Taproot มีรูปร่างกลมพองออกตรงกลาง ปลายรากเรียวเล็กลง เช่นหัวแรทดิช หัวมันแกว

  24. Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Tuberousคือ Fibrousroot ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน รากแต่ละรากอาจมีรูปร่างยาวๆ ตรงกลางพองออกไป หรือพองตรงปลาย หรือพองทั้งกลางและปลาย เช่นมันเทศ มันมือเสือ

  25. Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Fascicledคือ Fibrousroot ที่รากทุกรากพองออกมาตลอดความยาวของรากและมีขนาดเกือบเท่ากัน เช่น กระชาย

More Related