1 / 20

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก. ความหมาย. แบบฝึก คือ การจัดประสบการณ์ การฝึกหัดเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถแก้ปัญหาได้ถูกตองหลากหลายและแปลกใหม่ ( สมศักดิ์ ธุระเวชญ์ , 2540 ). ทฤษฎี / แนวคิด. ลักษณะของแบบฝึก River ( 1968: 97/105 ) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกไว้ดังนี้

jade-french
Download Presentation

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก

  2. ความหมาย แบบฝึก คือ การจัดประสบการณ์ การฝึกหัดเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถแก้ปัญหาได้ถูกตองหลากหลายและแปลกใหม่ ( สมศักดิ์ ธุระเวชญ์,2540 )

  3. ทฤษฎี/แนวคิด ลักษณะของแบบฝึก River( 1968: 97/105)กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกไว้ดังนี้ 1.ต้องมีการฝึกนัดชกเรียนมากพอในเรื่องหนึ่งๆก่อนที่จะมีการฝึกเรื่องอื่นๆต่อไป 2.แต่ละบทควรฝึกโดยใช้แบบประโยคเพียงแบบหนึ่งเท่านั้น 3.ฝึกโครงสร้างใหม่กับสิ่งที่เรียนรู้แล้ว 4.ประโยคที่ฝึกควรเป็นประโยคสั้นๆ 5.ประโยคและคำศัพท์ ควรเป็นแบบที่ใช้พูดกันในชีวิตประจำวันที่นักเรียนรู้จักดีแล้ว

  4. 6. เป็นแบบฝึกที่นักเรียนใช้ความคิดด้วย 7. แบบฝึกควรมีหลายๆแบบ เพื่อไม่ใช้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย 8. ควรฝึกให้นักเรียนสามารถนำสิ่งเรียนไปแล้วไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

  5. หลักการสร้างแบบฝึก สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2522: 52-62) กล่าวว่า การจัดทำแบบฝึกทักษะต้องยึดตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาดังนี้ • กฎการเรียนรู้ของ ธอร์นไดค์ เกี่ยวกับกฎแห่งการฝึกหัด คือ สิ่งใดที่ได้ทำบ่อยๆจะทำได้ดี ถ้านานๆ • ความแตกต่างระหว่างบุคคล คือ ต้องไม่ยากและไม่ง่ายเกินไป • การจูงใจผู้เรียนทำแบบฝึกจากง่ายไปยาก เพื่อดึงดูดความสนใจ • ใช้แบบฝึกสั้นๆ เพื่อไม่ให้เบื่อหน่าย

  6. ลักษณะของแบบฝึก แบบฝึกหัดภาษาไทย ป.๕(ลักษณะนาม) ช่วยเติมลักษณะนามให้ถูกต้องเหมาะสม ๑.ดินสอ  .......(แท่ง)๒.ขลุ่ย......(เลา)๓.คันธนู......(คัน)๔.ไข่.....๕.เลื่อย....๖.ช้างป่า.....๗.ยักษ์.....๘.แม่น้ำ.....

  7. ๙.พระสงฆ์....๑๐.เข็ม....๑๑.ข้าวหลาม....๑๒.ยางรถยนต์....๑๓.ตะปู....๑๔.ภูเขา...๑๕.นาฬิกา....๑๖.เกวียน.....๑๗.ไม้ไผ่.....๑๘.ปลาย่าง....๑๙.แสตมป์....๒๐.เจดีย์.....๙.พระสงฆ์....๑๐.เข็ม....๑๑.ข้าวหลาม....๑๒.ยางรถยนต์....๑๓.ตะปู....๑๔.ภูเขา...๑๕.นาฬิกา....๑๖.เกวียน.....๑๗.ไม้ไผ่.....๑๘.ปลาย่าง....๑๙.แสตมป์....๒๐.เจดีย์.....

  8. โรจนา ศรีไพรวรร(2520-30-31) ให้ข้อคิดเกี่ยวกับหลักการสร้างแบบฝึกที่ดีดังนี้คือ • ต้องสร้างแบบฝึกให้สอดคล้องกับหลักจิตวิทยา • มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนว่าจะฝึกทักษะทางด้านใด • ต้องงคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน • แบบฝึกที่ดีต้องมีคำชี้แจงง่าย สั้นๆ • แบบฝึกต้องมีความถูกต้อง • การให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดแต่ละครั้ง ต้องใช้เวลาให้เหมาะกับช่วงความสนใจของนักเรียน • แบบฝึกควรมีหลายรูปแบบ เพื่อให้เกิดความเรียนรู้อย่างกว้างขวาง

  9. แนวทางการจัดการเรียนรู้แนวทางการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนการสร้างแบบฝึก • ศึกษาปัญหาและความต้องการ โดยศึกษาจากการผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • วิเคราะห์เนื้อหาหรือทักษะที่เป็นปัญหาออกเป็นเนื้อหาหรือทักษะย่อยๆ เพื่อการใช้ในการออกแบบทดสอบและแบบฝึกหัด • พิจารณาวัตถุประสงค์ รูปแบบ และขั้นตอนการใช้แบบฝึก • สร้างแบบทดสอบ ซึ่งอาจมีแบบทดสอบเชิงสำรวจ • สร้างบัตรฝึกหัด เพื่อใช้พัฒนาทักษะย่อยแต่ละทักษะ

  10. 6. สร้างบัตรอ้างอิง เพื่อใช้อธิบายคำตอบหรืออแนวทางการตอบแต่ละเรื่อง 7. สร้างแบบบันทึกความก้าวหน้าเพื่อใช้บันทึกผลการทดสอบหรือผลการเรียน 8. นำแบบฝึกไปทดลองใช้ เพื่อหาข้อบกพร่อง 9. แก้ไขปรับปรุงแบบฝึก เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป

  11. การหาประสิทธิภาพแบบฝึกการหาประสิทธิภาพแบบฝึก ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2523: 495) ได้เสนอแนะขั้นตอนการหาประสิทธิภาพแบบฝึกไว้ดังนี้ • การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน ทำได้โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียนรี 2 ประเภทคือ พฤติกรรมต่อเนื่องและพฤติกรรมสุดท้าย • การกำหนดเกณฑ์โดยการทดสอบทางสถิติ ทำได้โดยการนำแบบฝึกที่สร้างขั้นไปทดลองใช้แล้วหาค่าความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน

  12. 3. กำหนดระดับประสิทธิภาพของแบบฝึก ประสิทธิภาพของแบบฝึกที่สร้างกำหนดเกณฑ์ที่ยอมรับไว้ 3 ระดับ คือ 3.1 ระดับสูงกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝึกสงสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้มีค่าร้อยละ 2.5 ขึ้นไป 3.2 ระดับเท่าเกณฑ์ เมื่อระดับประสิทธิภาพของแบบฝึก เท่ากับหรือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 2.5 3.3 ระดับต่ำกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝึกต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2.5 ซึ่งถือว่ายังมีประสิทธิภาพที่ยอมรับได้

  13. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2523: 494)เสนอแนะว่าการทดลองหาประสิทธิภาพของสื่อ จะต้องนำสื่อไปทดลองใช้ เพื่อปรับปรุงแก้ไขแล้วนำไปทดลองสอนจริง เพื่อนำผลที่ได้มาปรับปรุง เสร็จแล้วจึงดำเนินการผลิตเป็นจำนวนมากหรือใช้สอนในชั้นเรียนตามปกติ ได้การทดลองมีขั้นตอนดังนี้ • สำหรับแบบทดลองแบบเดี่ยว (1:1) เป็นการทดลองครู 1 คนต่อเด็ก 1 คน • สำหรับการทดลองแบบกลุ่ม (1:10)เป็นการทดลองครู 1 คนต่อเด็ก 5-10 คน • สำหรับการทดลองแบบกลุ่ม (1:100)เป็นการทดลองครู 1 คนต่อเด็ก 30-40คน

  14. หลังการทดลอง คำนวณหาประสิทธิภาพแล้วปรับปรุงแก้ไปผลลัพธ์ที่ได้ควรจะใกล้เคียงกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ โดยต่ำกว่าเกณฑ์ได้ไม่เกินร้อยละ 2.5 ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533: 129-130) กล่าวถึงการหาประสิทธิภาพของสื่อทำได้ 2 วิธีคือ • ประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ การประเมินแบบฝึกนั้นเป็นการตรวจสอบหรือประเมินประสิทธิภาพของแบบฝึกที่นิยมประเมิน และใช้เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 สำหรับเนื้อหาที่เป็นทักษะ ความหมายของตัวเลขหลักเกณฑ์มาตรฐาน มีดังนี้ 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าร้อยละของประสิทธิภาพในด้านกระบวนการของแบบฝึก 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน

  15. ข้อค้นพบทางการวิจัย • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • ความคิดสร้างสรรค์ • ความสามารถในการเขียน • ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

  16. คำถาม • การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก คือข้อใด 1. การจัดประสบการณ์ การฝึกหัดเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 2. สิ่งใดที่ทำบ่อยๆจะทำได้ดี ถ้านานๆทำทีก็จะเกิดลืม 3.ศึกษาจากการผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา 4.การสร้างแบบทดสอบ

  17. 2. แบบฝึกหมายถึง 1. แต่ละบทควรฝึกโดยใช้แบบประโยคเพียงหนึ่งบทเท่านั้น 2. การจัดประสบการณ์ การฝึกหัดเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 3. แบบฝึกที่นักเรียนให้ความสำคัญ 4. แบบฝึกควรมีหลายๆแบบ เพื่อไม่ใช้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย

  18. 3. หลักการสร้างแบบฝึกคือข้อใด 1. ประโยคและคำศัพท์ ควรเป็นแบบที่พูดกันในชีวิตประจำวัน 2. ต้องสร้างแบบฝึกหัดที่สอดคล้องกับหลักจิตวิทยา 3. ความแตกต่างระหว่างบุคคล คือไม่ยากและไม่ง่ายเกินไป 4. แบบฝึกควรมีหลายรูปแบบ

  19. 4. ขั้นตอนการสร้างแบบฝึกข้อใดผิด 1. กำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ 2. สร้างแบบทดสอบ 3. นำแบบฝึกไปทดลองใช้ 4. ปรับปรุงแก้ไขแบบฝึก เพื่อใช้ประโยชน์ในครั้งต่อไป

  20. 5. การกำหนดเกณฑ์โดยการทดสอบทางสถิติ ทำได้โดนยำแบบฝึกที่สร้างขึ้น ไปทดลองใช้แล้วหาค่าความแตกต่าง ของคะแนนในช่วงใด 1. ก่อนเรียน 2. หลังเรียน 3. ก่อนเรียนและหลังเรียน 4. ถูกทุกข้อ

More Related