1 / 46

สันติวัฒนธรรม

สันติวัฒนธรรม. ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พฤษภาคม ๒๕๕๕. แนวการบรรยาย. ความหมายความเข้าใจ แนวคิด การวิเคราะห์ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การจัดการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงทางวัฒนธรรม การสร้างสันติวัฒนธรรม. วัฒนธรรม : ความหมาย.

jagger
Download Presentation

สันติวัฒนธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สันติวัฒนธรรม ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พฤษภาคม ๒๕๕๕

  2. แนวการบรรยาย • ความหมายความเข้าใจ • แนวคิด • การวิเคราะห์ความแตกต่างทางวัฒนธรรม • การจัดการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงทางวัฒนธรรม • การสร้างสันติวัฒนธรรม

  3. วัฒนธรรม : ความหมาย “รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน”

  4. วัฒนธรรม : การแสดงออก วัฒนธรรมสามารถแสดงออกผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ ดนตรีวรรณกรรมจิตรกรรมประติมากรรมการละครและภาพยนตร์ ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคม และแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึงเทคโนโลยีศิลปะวิทยาศาสตร์ รวมทั้งระบบศีลธรรม

  5. วัฒนธรรม : จัดกลุ่มตามประเภท • วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อความสุขทางกาย อันได้แก่ ยานพาหนะ ที่อยู่อาศัย ตลอดจนเครื่องป้องกันตัวให้รอดพ้นจากอันตรายทั้งปวง • วัฒนธรรมทางจิตใจ เป็นเรื่องเกี่ยวกับเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ เพื่อให้เกิดปัญญาและมีจิตใจที่งดงาม อันได้แก่ ศาสนาศีลธรรมจริยธรรม คติธรรม ตลอดจนศิลปะวรรณคดี และระเบียบแบบแผนของขนบธรรมเนียมประเพณี

  6. ทำมาหากินระบบยังชีพ

  7. วัฒนธรรมคุ้มครองดูแลทรัพยากรโดยชุมชนวัฒนธรรมคุ้มครองดูแลทรัพยากรโดยชุมชน

  8. วัฒนธรรมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรโดยภูมิปัญญาชุมชนวัฒนธรรมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรโดยภูมิปัญญาชุมชน

  9. วัฒนธรรมร่วมมือร่วมใจจัดการทรัพยากรของชุมชนวัฒนธรรมร่วมมือร่วมใจจัดการทรัพยากรของชุมชน

  10. วัฒนธรรมอยู่กับป่า เก็บผักผลไม้จากบนเขาภาคใต้ วัฒนธรรมอีสาน หาอยู่หากิน เก็บเห็ด หน่อไม้ ผักจากป่า

  11. วัฒนธรรมการทำมาหากินชายทะเล หาหอย

  12. ปัจจัยที่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการต่อต้านทางวัฒนธรรมปัจจัยที่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการต่อต้านทางวัฒนธรรม • ปฏิสัมพันธ์หรือแรงผลักดันใน บ้าน/ที่ทำงาน • การติดต่อสื่อสารกันระหว่างกลุ่มสังคม • การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ

  13. สันติวิธี • วิธีการที่ไม่ใช้ความรุนแรง

  14. เป็นสภาวการณ์ของคุณค่า ทัศนคติ พฤติกรรม และวิถีชีวิต ที่ไม่ใช้ความรุนแรง ความใกล้ชิดกลมกลืนกันของอัตลักษณ์ ทัศนคติ คุณค่า ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบัติในการใช้ชีวิต และความต้องการพื้นที่อิสระเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลในสังคมนั้นๆ การป้องกันจัดการความขัดแย้งด้วยวิธีการคลี่คลายเหตุปัจจัยของปัญหาโดยไม่เผชิญหน้า เป็นภูมิคุ้มกันไม่ให้ใช้ความรุนแรง ลักษณะบางประการที่สะท้อนความเป็น สันติวัฒนธรรม

  15. ตัวบ่งชี้สังคมที่มีสันติวัฒนธรรมตัวบ่งชี้สังคมที่มีสันติวัฒนธรรม • สิทธิมนุษยชนเท่าเทียม • การศึกษาที่เท่าทัน • การพัฒนาที่มีส่วนร่วม • การมีส่วนร่วมกับกระบวนการปกครองระบอบประชาธิปไตย/ธรรมาภิบาล • ความเท่าเทียมทางเพศสภาพ ชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา • การมีอิสระ/เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะ • ความทนกันได้/ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • ระบบความมั่นคงปลอดภัยของสังคม • ความสมบูรณ์ของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  16. คำถาม ๑ สันติวัฒนธรรมคืออะไร?

  17. สรุปความหมาย สันติวัฒนธรรมคือวัฒนธรรมการดำรงชีวิตร่วมกันด้วยความเมตตากรุณา บนหลักการพื้นฐานการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขโดยมีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามที่ช่วยให้สังคมมนุษย์ประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ต่อกันและกันโดยปราศจากความรุนแรงแล้วนำไปสู่ชีวิตที่สงบสุข มีความเจริญงอกงามทั้งภายนอกและภายในของความเป็นมนุษย์

  18. ความหมาย สันติวัฒนธรรมเป็นสภาวะที่มีความสมดุลกลมกลืนกันของอัตลักษณ์ ทัศนคติ คุณค่า ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบัติในการใช้ชีวิต และความต้องการพื้นที่อิสระเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลในสังคมนั้นๆ

  19. คำถาม ๒ ลักษณะทางสังคม/วัฒนธรรมของไทยอะไรบ้างที่บ่งบอก - ความเป็นสันติวิธี - ความไม่เป็นสันติวิธี

  20. คำถาม ๓ • ประเทศไทยมีสันติวัฒนธรรมหรือไม่ เพราะเหตุใด?

  21. แนวคิด/หลักการสันติวัฒนธรรมแนวคิด/หลักการสันติวัฒนธรรม • สันติวัฒนธรรมเป็นวัฒนธรรมการดำรงชีวิตร่วมกันด้วยความเมตตากรุณา โดยมีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามช่วยให้สังคมมนุษย์ประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ต่อกันและกันโดยปราศจากความรุนแรงแล้วนำไปสู่ชีวิตที่สงบสุข มีความเจริญงอกงามทั้งภายนอกและภายในของความเป็นมนุษย์

  22. การแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สำคัญบางประการการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สำคัญบางประการ • - ชาติพันธุ์ • - ภาษา • - การแต่งกาย • - การกินอยู่ • - ความเชื่อ/ศาสนา • - เพศ วัย • การศึกษา • ศิลปะ • ฯลฯ • .

  23. อคติ ที่ส่งผลต่อการรับรู้ถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม ๔ ประการ • ความรัก- ความโกรธ • ความกลัว • ความเขลา

  24. ทำไมมีอคติแบบต่างๆ อกุศลมูล - อคติอันเนื่องจากความรัก- อคติอันเนื่องจากความโกรธ - อคติอันเนื่องจากความกลัว - อคติอันเนื่องจากความเขลา โลภ โกรธ หลง

  25. เหตุปัจจัยรากเหง้าของการเกิดอกุศลมูลและอคติเหตุปัจจัยรากเหง้าของการเกิดอกุศลมูลและอคติ อกุศลมูล • อคติ • รัก-โกรธ • กลัว • เขลา รากเหง้าอกุศล การยึดมั่นถือมั่น โลภ โกรธ หลง

  26. การแสดงออกของอคติต่อสรรพสิ่ง อคติ อกุศลมูล การยึดมั่นถือมั่น - รัก-โกรธ - กลัว - เขลา สำนึก(ความรู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง

  27. อคติที่มีต่อการแสดงออกทางวัฒนธรรมอคติที่มีต่อการแสดงออกทางวัฒนธรรม • - ชาติพันธุ์ • - ภาษา • - การแต่งกาย • - การกินอยู่ • - ความเชื่อ/ ศาสนา • - เพศ วัย • การศึกษา • ศิลปะ • ฯลฯ สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) อคติ - รัก-โกรธ - กลัว - เขลา

  28. สภาวะ/กลไกสังคม สันติวัฒนธรรม -อิสระต่อกัน -ร่วมมือ -ช่วยเหลือกัน-ไม่เอาเปรียบ ฯลฯ ประเด็นฯ -ชาติพันธุ์ -ภาษา -การแต่งกาย -การกินอยู่ -ความเชื่อ/ ศาสนา -การศึกษา-ศิลปะ ฯลฯ ไม่สันติ -เอาเปรียบ-กำจัด-กดขี่ -หลบหลีก -ต่อสู้ป้องกัน ฯลฯ เสมอกัน สูงกว่า ต่ำกว่า อกุศลมูล การยึดมั่นถือมั่น อคติ สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง รักโกรธกลัวเขลา ความเคารพ ความทนกันได้ การให้อภัย ฯลฯ

  29. การพัฒนาจิตสำนึกร่วม การจัดการเชิงสัญญลักษณ์ การจัดความสัมพันธ์ การพัฒนาภายในตน (ศีล สมาธิ ปัญญา) สันติวัฒนธรรม -อิสระต่อกัน -ร่วมมือ -ช่วยเหลือกัน-ไม่เอาเปรียบ ฯลฯ ประเด็นฯ -ชาติพันธุ์ -ภาษา -การแต่งกาย -การกินอยู่ -ความเชื่อ/ ศาสนา -การศึกษา-ศิลปะ ฯลฯ ไม่สันติ/รุนแรง -เอาเปรียบ-กำจัด-กดขี่ -หลบหลีก -ต่อสู้ป้องกัน ฯลฯ เสมอกัน สูงกว่า ต่ำกว่า การยึดมั่นถือมั่น อกุศลมูล อคติ-รัก-โกรธ-กลัว-เขลา สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง ความเคารพ ความทนกันได้ การให้อภัย ฯลฯ

  30. สังคมเป็นธรรม/สงบ/สุข เหลื่อมล้ำ/รุนแรง/ทุกข์ สังคมเป็นธรรม/สงบ/สุข เหลื่อมล้ำ/รุนแรง/ทุกข์ การพัฒนาจิตสำนึกร่วม การจัดการเชิงสัญญลักษณ์ การจัดความสัมพันธ์ การพัฒนาภายในตน (ศีล สมาธิ ปัญญา) สันติวัฒนธรรม -อิสระต่อกัน -ร่วมมือ -ช่วยเหลือกัน-ไม่เอาเปรียบ ฯลฯ ประเด็นฯ -ชาติพันธุ์ -ภาษา -การแต่งกาย -การกินอยู่ -ความเชื่อ/ ศาสนา -การศึกษา-ศิลปะ ฯลฯ ไม่สันติ/รุนแรง -เอาเปรียบ-กำจัด-กดขี่ -หลบหลีก -ต่อสู้ป้องกัน ฯลฯ เสมอกัน สูงกว่า ต่ำกว่า การยึดมั่นถือมั่น อกุศลมูล อคติ-รัก-โกรธ-กลัว-เขลา สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง ความเคารพ ความทนกันได้ การให้อภัย ฯลฯ

  31. การสร้างสันติวัฒนธรรมการสร้างสันติวัฒนธรรม • ความทุกข์และปัญหาของมนุษย์ในภาพกว้าง • ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ • ความขัดแย้งเชื้อชาติ ศาสนา ผิว • ปัญหาการก่อการร้าย • ปัญหาธรรมชาติและสภาพแวดล้อม • ความอดอยากหิวโหย

  32. การพัฒนาที่ไม่สมดุลกับหายนะภัยที่ยิ่งมากขึ้นการพัฒนาที่ไม่สมดุลกับหายนะภัยที่ยิ่งมากขึ้น • ความเจริญก้าวหน้าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ขาดความรับผิดชอบต่อสังคม • การค้าเสรีที่ขาดความสำนึกต่อเกษตรกรรายย่อย • ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ขาดการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของประชาชน

  33. รากฐานอารยธรรมมนุษยชาติรากฐานอารยธรรมมนุษยชาติ • อารยธรรมที่ขับเคลื่อนโลกาภิวัฒน์ แยกมนุษย์ออกจากธรรมชาติ อยู่เหนือธรรมชาติ มนุษย์สามารถจัดการธรรมชาติได้

  34. รากฐานความคิดสุดขั้วที่ขับเคลื่อนโลกาภิวัฒน์รากฐานความคิดสุดขั้วที่ขับเคลื่อนโลกาภิวัฒน์ • วัตถุนิยม • บริโภคนิยม • วิทยาศาสตร์ • อุตสาหกรรม

  35. แรงจูงใจสู่ปฏิบัติการแรงจูงใจสู่ปฏิบัติการ • ตัณหา ความอยากในผลประโยชน์ • มานะ ความทะนงตนในอำนาจ ความยิ่งใหญ่ • ทิฐิ ความหลงในลัทธิ ความเห็น อุดมการณ์ ศาสนา

  36. ปัจจัยเอื้ออำนวยให้เกิดวัฒนธรรมสันติวิธีปัจจัยเอื้ออำนวยให้เกิดวัฒนธรรมสันติวิธี • ความจำเป็นพื้นฐานได้รับการตอบสนอง • การมีทัศนคติและมาตรฐานร่วมกันในเรื่องของความยุติธรรม • กระบวนการยุติธรรมต้องปฏิบัติได้จริง • การพัฒนาความคิดใหม่ๆให้สอดคล้องกับสถานการณ์

  37. คำถาม จะสร้างสันติวัฒนธรรมในสังคมไทยได้อย่างไร?

  38. แนวคิดการสร้างสันติวัฒนธรรม ด้วยการศึกษาฝึกฝนและการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่อิสรภาพและความสุข • สร้างความสัมพันธ์กับธรรมชาติ • สร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์ • สร้างอิสรภาพในชีวิตตัวเอง

  39. แนวทางการสร้างสันติวัฒนธรรมแนวทางการสร้างสันติวัฒนธรรม • การศึกษา • การปฏิบัติ

  40. การศึกษาเพื่อพัฒนาอิสรภาพและความสุขการศึกษาเพื่อพัฒนาอิสรภาพและความสุข • ฝึกฝนและพัฒนาพฤติกรรมภายนอก • ฝึกฝนและพัฒนาจิตใจและค่านิยม • ฝึกฝนและพัฒนาความรู้ความเข้าใจ เกิดสติปัญญา

  41. ข้อพิจารณาในการสร้างสันติวัฒนธรรมในระดับสถาบันข้อพิจารณาในการสร้างสันติวัฒนธรรมในระดับสถาบัน • ต้องทราบสถานการณ์และปัญหาความขัดแย้งและความรุนแรง และความต้องการในการแก้ไขปัญหาของสถาบันการศึกษา • ต้องมีวิสัยทัศน์ นโยบายและทิศทางการทำงานที่ชัดเจน • กำหนดบทบาทภารกิจและอำนาจหน้าที่เพื่อขับเคลื่อนภารกิจให้บรรลุผลสำเร็จ • มีแนวทาง มาตรการ แผนงาน งบประมาณและบุคลากรสนับสนุน • มีกลไกการติดตามเพื่อประเมินผลและให้การสนับสนุนการทำงานให้เหมาะสม • ผู้บริหารสถาบันจะต้องมีความเชื่อมั่น/อุดมการณ์สันติวิธีและสันติวัฒนธรรม ว่าจะนำไปสู่การระงับข้อพิพาทรุนแรงได้

  42. สรุป • สันติวัฒนธรรมมีองค์ประกอบทั้งภายในและภายนอก ภายในได้แก่ทัศนคติความคิดความเชื่อ และภายนอกได้แก่แบบแผนการใช้พฤติกรรมไปปฏิสัมพันธ์กัน • สันติวัฒนธรรมเป็นภูมิคุ้มกันไม่ให้ใช้ความรุนแรง ด้วยการ - ยอมรับคุณค่าความเป็นมนุษย์เสมอกัน ไม่มองคนอื่นเป็นศัตรู จึงไม่ทำร้าย ไม่ใช้ความรุนแรง - ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความรุนแรงและผลกระทบ ของความรุนแรงต่อสังคม - คุ้มครองและดูแลสิทธิของเหยื่อหรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง - ปกป้องผู้บริสุทธิ์ให้พ้นจากความรุนแรง

  43. สรุป - ต่อ - • สันติวัฒนธรรมในยุคปัจจุบันจึงต้องเป็นวัฒนธรรมที่ช่วยให้องค์ประกอบของสรรพสิ่งสมดุล คนอยู่ได้อย่างมีความสุขจากอิสรภาพ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เกื้อกูล และกตัญญูต่อสรรพสิ่งที่เอื้อต่อชีวิต • กระบวนการสร้างสันติวัฒนธรรม จึงต้องสร้างการยอมรับในคุณค่าความเป็นมนุษย์เสมอกัน ไม่มองคนอื่นเป็นศัตรู ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความรุนแรงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสังคมจากการใช้ความรุนแรง มีการคุ้มครองและดูแลสิทธิของเหยื่อหรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง และการปกป้องผู้บริสุทธิ์

  44. สรุป - ต่อ - • การสร้างสันติวัฒนธรรมหรือการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงมาเป็นความสงบสุขด้วยสันติวิธีจึงขึ้นอยู่กับตัวเราเองเป็นสำคัญ ทุกคนสามารถทำได้ด้วยตัวเองทันทีไม่ต้องรอให้ใครมาช่วยหรือร้องขอ สันติวัฒนธรรมเริ่มขึ้นจากภายในของตน ด้วยการสะสมความดี บุญบารมี ค้นหาพลังอำนาจในตัวเอง ในครอบครัว ในชุมชน และขยายผลเป็นสันติวัฒนธรรมของสังคมทุกระดับชั้น

More Related