1 / 66

สรุปคำอธิบาย “จิตวิทยาเพื่อการบริหารองค์การ”

สรุปคำอธิบาย “จิตวิทยาเพื่อการบริหารองค์การ”. ดร.สุมาลี พงศ์ติยะไพบูลย์. ประธานโปรแกรมจิตวิทยาและการแนะแนว. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. ธรรมชาติของมนุษย์.  ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences).  บุคคลในลักษณะรวม (A whole Person).

jana
Download Presentation

สรุปคำอธิบาย “จิตวิทยาเพื่อการบริหารองค์การ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปคำอธิบาย “จิตวิทยาเพื่อการบริหารองค์การ” ดร.สุมาลี พงศ์ติยะไพบูลย์ ประธานโปรแกรมจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

  2. ธรรมชาติของมนุษย์  ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences)  บุคคลในลักษณะรวม (A whole Person)  พฤติกรรมเกิดจากสาเหตุ (Caused Behavior…Motivation)  ศักดิ์ศรีของมนุษย์ (Value of Person…Human Dignity)

  3. ธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยาธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยา “ นักจิตวิทยากลุ่มนี้เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาไม่ดี ไม่เลวมนุษย์จะดีหรือเลวนั้นขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อม ถ้ามนุษย์ในสิ่งแวดล้อมที่ดีก็จะเป็นคนดี แต่ถ้าอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เลวก็จะเป็นคนเลว มนุษย์จึงเป็นผลิตผลของสิ่งแวดล้อม”

  4. John B. Watson 1878 - 1958 ประโยค “ Give me a dozen healthy infants, well formed, and my own specified world go bring them up in, and I will guarantee to take any one at random and train him to become any type of specialist I might select-doctor, lawyer, artist, merchant - chief - regardless of his talents , tendencies , abilities , vocations , and race of his ancestors.” (Watson, 1925 : 65)

  5. Burrhus Frederic Skinner (1904-1990 )

  6. แนวคิด Skinner Skinnerกล่าวว่า "ถ้าหากว่าเขาสามารถควบคุม สิ่งแวดล้อมได้ เขาก็จะสามารถกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์ให้เป็นไปตามที่เขาต้องการได้ทุกประการ" เขามีความเห็นว่ามนุษย์มี พฤติกรรมตามสิ่งแวดล้อม ถ้าสามารถควบคุมสิ่งแวดล้อมได้ก็สามารถกำหนดพฤติกรรมมนุษย์ให้เป็นไปตามที่ต้องการได้ Skinner ที่ได้ทดลองเรื่องการเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบแสดงการกระทำ Operant Conditioning)

  7. B. F. Skinner ผู้เขียนหนังสือ Beyand Freedom and Dignity หนังสือพิมพ์นิวยอร์ค ไทม์ ยกให้เป็นหนังสือสำคัญที่สุดของทศวรรษ 1970 “มนุษย์ไม่ต้องรับผิดชอบต่อพฤติกรรมของเขา มนุษย์จะค่อยๆ ถูกครอบงำโดยสิ่งแวดล้อม และการกระทำทั้งหมดของเขาเป็นการกระทำที่เขาถูกบังคับโดยสภาวะต่าง ๆ ที่เขาประสบมาในชีวิต... เขาไม่สมควรที่จะถูกพิจารณาว่าเป็นคน “ดี” เพียงเพราะความประพฤติของเขาดี หรือถูกลงโทษว่าเป็นคน “ไม่ดี” เมื่อเขามีความประพฤติไม่ดี ไม่มีคนดีคนเลว ทุกอย่างที่เขากระทำลงไปล้วนแล้วแต่มาจากสภาวะต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวเขาหรือล้อมรอบตัวเขา” จาก Richard M. Devos and Charles Paul Conn. จากหนังสือ Belive.

  8. Operant Conditioning B.F. Skiner’ Experiment ( 1938 ) The Consequence of Behavior

  9. อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิดอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิด ปัญญานิยม

  10. ธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยาธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยา “ มนุษย์จะดีหรือเลวขึ้นอยู่กับการปรับตัวในสภาพแวดล้อม มนุษย์เป็นผู้มีสติปัญญา”

  11. Bloom

  12. Cognitive: the most-used of the domains, refers to knowledge structures (although sheer “knowing the facts” is its bottom level). It can be viewed as a sequence of progressive contextualisation of the material. (Based on Bloom,1956)

  13. JEAN PIAGET

  14. Jerome Bruner

  15. LAWRENCE KOHLBERG1927-1987

  16. พฤติกรรมนิยม ปัญญานิยม Cognitive - Behaviorism

  17. Abraham Maslow

  18. ความต้องการของมนุษย์ มีหลายทฤษฎีที่นักจิตวิทยาศึกษาค้นคว้ามาเพื่ออธิบายถึงลักษณะธรรมชาติของมนุษย์ที่มีความต้องการแตกต่างกันไป เช่น ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์(Maslow’s Theory) ทฤษฎีความต้องการของเมอร์เรย์ (Murray) และทฤษฎีความต้องการของ ฟรอยด์ (Freud) เป็นต้น

  19. ลำดับขั้นความต้องการของ MASLOW

  20. Trans cendence 8 6 Aesthetic need To Know and Understand 5 7 7 Self Actualization Esteem needs from One - Self and other 4 3 Belongingness , Love need Safety need 2 Physiological need 1

  21. มนุษย์มีความรู้สึก มนุษย์คิด และมนุษย์ตัดสินใจ จิตวิทยา จะต้องศึกษาความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ตามที่มนุษย์รู้สึก มิใช่ศึกษาพฤติกรรมภายนอก ซึ่งเป็นเพียงการแสดงออกของความรู้สึกนึกคิด 1. ทรรศนะของนักจิตวิทยามนุษยนิยม (Humanistic Psychology)

  22. มนุษย์มิใช่เครื่องจักรกลที่ถูกควบคุมโดยสภาพของ สิ่งแวดล้อม สภาพของอินทรีย์และสภาพของพฤติกรรมในอดีต ในทรรศนะของ เอบรัหม มาสโลว์ (Abraham Maslow, 1908-1970) นักมนุษยนิยมชาวอเมริกัน มีดังนี้ “มนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยแรงดลใจที่จะเสาะหาความรู้ที่จะสำรวจ และที่จะสร้างสรรค์ แรงดลใจเหล่านี้นำไปสู่ความต้องการที่จะ พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่” 2. ทรรศนะของนักจิตวิทยามนุษยนิยม (Humanistic Psychology)

  23. 3. มนุษย์มีธรรมชาติที่ดีงาม มนุษย์มีแรงดลใจที่จะทำความดี ทรรศนะของนักจิตวิทยามนุษยนิยม (Humanistic Psychology)

  24. อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิดอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิด จิตวิเคราะห์

  25. Sigmund Freud (1856-1939)

  26. ทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมชาติ และพฤติกรรมของมนุษย์ • ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)ของ Sigmund Freud ตัวควบคุมให้แสดงออกไปอย่างถูกต้องตาม ทำนองคลองธรรม ประเพณี ตัวควบคุมให้เกิดการแสดงออกในทางที่ เหมาะสมตามสภาพความเป็นอยู่ ตัณหา ความอยาก ความต้องการที่แท้จริงของ มนุษย์ที่มีมาแต่กำเนิด พฤติกรรมของคนเป็นผลรวมของการทำงาน ที่ประสานกันระหว่างโครงสร้างของจิต Super Ego Ego Id

  27. Unconscious Subconscious thoughts Id Impulses Curiosity instincts pleasure seeking Superego Forces Rules , regulation desires to comply

  28. Unconscious below the surface (thoughts, feelings, wishes, memories) Psychoanalysis: The Unconscious “the mind is like an iceberg - mostly hidden” Conscious Awareness small part above surface (Preconscious) Repression banishing unacceptable thoughts and passions to unconscious: Dreams and Slips

  29. Psychoanalysis: Freud’s Theory of Personality • Three levels of consciousness: • Conscious mind:things we are focusing on. • Preconscious mind:things are are not currently aware of but which we could focus on. • Unconscious mind:that which we areunaware of.

  30. Super Ego Ego Id Freud and Personality Structure Id - energy constantly striving to satisfy basic drives Pleasure Principle Ego - seeks to gratify the Id in realistic ways Reality Principle Super Ego - voice of conscience that focuses on how we ought to behave

  31. อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวอิทธิพลสังคมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวอิทธิพลสังคม

  32. BANDURA

  33. แนวความคิดของ Bandura Banduraได้อธิบายการเรียนรู้ทางสังคม หรือการเรียนรู้จากการสังเกต หรือการเรียนรู้จากตัวแบบว่า การเรียนรู้แบบนี้เกิดจากการเลียนแบบหรือสังเกตพฤติกรรมของผู้อื่น โดยอธิบายกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมว่ามีขั้นตอนดังนี้ คือ การเรียนรู้ตัวแบบจากสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้และจดจำการกระทำของตัวแบบ ซึ่งผู้เรียนแสดงพฤติกรรมตามที่สังเกตจากตัวแบบ

  34. พฤติกรรมมนุษย์ในแง่อิทธิพลจากตนเองและสังคมพฤติกรรมมนุษย์ในแง่อิทธิพลจากตนเองและสังคม บรรทัดฐานการคาดหวังในบทบาท สถาบันทางสังคม ตำแหน่ง และบทบาท ระบบสังคม พฤติกรรมที่แสดงออกมาให้สังเกตได้ บุคคล แต่ละคน ความต้องการอารมณ์ ความรู้สึก บุคลิกภาพ

  35. Social-Cognitive Personality Theories:Reciprocal Determination Personal/ Cognitive Factors Environment Factors Behavior Internal World + External World = Us

  36. Social-Cognitive Personality Theories:Reciprocal Determination

  37. องค์กร แหล่งรวมพลังของมนุษย์

  38. บุคคลที่มารวมกัน แล้วแข่งขันหน้าที่กันตามความเหมาะสม และสร้าง สายสัมพันธ์ระหว่างงานหน้าที่นั้น ให้บังเกิดความสำเร็จตามความคิด ที่กำหนดไว้รวมกันเรียกว่า “วัตถุประสงค์” องค์การ 1. มีวัตถุประสงค์เป็นจุดร่วมและแนวมุ่ง 2. มีคณะบุคคล (ไม่ใช่เพียงคนเดียว) มารวมกันโดยแบ่งหน้าที่กันทำ 3. มีระบบความสัมพันธ์ระหว่างงาน หน้าที่ที่แบ่งนั้นให้รวมกันเป็นความ สำเร็จของทั้งหมด

  39. องค์การกับสังคม สังคมมนุษย์ คือองค์การ องค์การคือ สังคมมนุษย์ อำนาจความคิด อำนาจองค์การ อำนาจคน

  40. ความเหนียวแน่นขององค์การความเหนียวแน่นขององค์การ 1. สมาชิกบรรลุวัตถุประสงค์ 2. มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ 3. ร่วมมือ VS แข่งขัน 4. เหตุการณ์ภายนอก 5. สถานการณ์บังคับ 6. ขวัญกำลังใจ 7. ผลประโยชน์ตอบแทน

  41. EFFICIENCY + PRODUCTION COMMUNICATION ประสิทธิภาพ องค์การ LEADER SIZE MEMBER SHIP GROUP GOAL VALUES +NORMS

  42. การบริหารคนในองค์กร

More Related