1 / 42

การบริหารค่าตอบแทน

การบริหารค่าตอบแทน. การบริหารค่าตอบแทน. องค์ประกอบของค่าตอบแทน. ประโยชน์ เกื้อกูล. สิ่งจูงใจ ระยะยาว. สวัสดิการ. สิ่งจูงใจ ระยะสั้น. เงินเดือน. เงิน เพิ่ม. องค์ประกอบของรางวัล คำนิยามของ HayGroup. Extrinsic Reward. เงินเดือน. เงินจูงใจ รายปี. +. Total. Intrinsic. =. เงินเพิ่ม.

Download Presentation

การบริหารค่าตอบแทน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารค่าตอบแทน การบริหารค่าตอบแทน

  2. องค์ประกอบของค่าตอบแทนองค์ประกอบของค่าตอบแทน ประโยชน์ เกื้อกูล สิ่งจูงใจ ระยะยาว สวัสดิการ สิ่งจูงใจ ระยะสั้น เงินเดือน เงินเพิ่ม

  3. องค์ประกอบของรางวัลคำนิยามของ HayGroup Extrinsic Reward เงินเดือน เงินจูงใจ รายปี + Total Intrinsic = เงินเพิ่ม Reward Reward เงินจูงใจ ระยะยาว สิทธิประโยชน์

  4. แรงจูงใจ แนวคิดพื้นฐานของการบริหารค่าตอบแทน ลูกจ้าง นายจ้าง อุปสงค์ อุปทาน อัตราค่าจ้าง

  5. Skill-based pay Competency-based pay ความเชื่อมโยงกับระบบบริหารทรัพยากรบุคคล Job-based pay Person-based pay Performance-based pay

  6. หลักการบริหารค่าตอบแทนหลักการบริหารค่าตอบแทน ค่างาน อัตราตลาด ฿ สมรรถนะบุคคล ผลงาน ความสามารถในการจ่าย

  7. การกำหนดค่าตอบแทนเชิงเทคนิคเน้นค่างานการกำหนดค่าตอบแทนเชิงเทคนิคเน้นค่างาน การสำรวจค่าตอบแทน การ วิเคราะห์ งาน การเปรียบเทียบ กับอัตราตลาด การประเมิน ค่างาน การกำหนด ค่าตอบแทน การออกแบบงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน การจัดทำบัญชีเงินเดือน การกำหนดค่าตอบแทนรูปแบบอื่น การจัดทำเอกสารบรรยายลักษณะงาน

  8. กระบวนการกำหนดค่าตอบแทนกระบวนการกำหนดค่าตอบแทน การสำรวจค่าตอบแทน การประเมินค่างาน บริษัท ก. จ่าย ? บริษัท จ. จ่าย ? บริษัท ข. จ่าย ? บริษัท ง. จ่าย ? บริษัท ค. จ่าย ? นโยบายองค์กร ค่าคน ผลงาน ความสามารถในการจ่าย การกำหนด โครงสร้างบัญชีเงินเดือน

  9. ค่างาน (ค่าคะแนน) ตัวอย่างผลการประเมินค่างาน ประธานศาลปกครอง ประธานศาลฏีกา นายกรัฐมนตรี ประธานสภาฯ รองประธาน ศาลฏีกา ประธาน กกต. รองประธาน ศาลปกครอง รองประธานสภาฯ รองนายกรัฐมนตรี ส.ส./ส.ว. กรรมการ กกต. รัฐมนตรีว่าการฯ ประธานศาลอุทธรณ์ อัยการสูงสุด รัฐมนตรีช่วยฯ รองอัยการสูงสุด ปลัดกระทรวงฯ ผู้พิพากษา ศาลอุทธรณ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะใน ศาลปกครอง อธิบดี ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะใน ศาลชั้นต้น ผู้พิพากษา ผอ.สำนัก/กอง ศาลปกครอง ชั้นต้น หัวหน้างาน หัวหน้างาน ผู้พิพากษา ศาลชั้นต้น เจ้าหน้าที่ระดับ เจ้าหน้าที่กลุ่มงาน ปฏิบัติกลุ่มงาน บริหารจัดการ สาธารณสุข

  10. การสำรวจค่าตอบแทนคือ การรวบรวมข้อมูลอัตราค่าตอบแทนที่องค์กรอื่นจ่ายให้แก่พนักงาน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบค่าตอบแทนระหว่างองค์กรองค์กรอาจเลือกที่จะสำรวจข้อมูลเองหรือซื้อผลสำรวจของสถาบันต่าง ๆ หัวใจของการสำรวจค่าตอบแทน คือ เปรียบเทียบงานที่เหมือนกันระหว่างองค์กร เปรียบเทียบองค์ประกอบของค่าตอบแทนที่เหมือนกัน ข้อมูลด้านค่าตอบแทนเป็นข้อมูลลับ การสำรวจค่าตอบแทน

  11. กระบวนการสำรวจค่าตอบแทน (1) เลือกตำแหน่งที่จะสำรวจค่าตอบแทน • เป็นตำแหน่งที่มีการจ้างงานในตลาด • เป็นตำแหน่งที่มีพนักงานมาก • ฯลฯ เลือกแหล่งข้อมูล • ตลาดแรงงานระดับท้องถิ่น ภูมิภาค ในประเทศ ระหว่างประเทศ • อุตสาหกรรมเดียวกัน/ต่างประเภทกัน เลือกข้อมูลที่ต้องการ • เงินเดือน สวัสดิการ ค่าตอบแทนรวม ฯลฯ • วิธีการจ่าย

  12. กระบวนการสำรวจค่าตอบแทน (2) วิธีการสำรวจ • วิธีการเทียบงาน • วิธีการเก็บข้อมูล เช่น ใช้แบบสำรวจ เป็นต้น ประมวลผลเพื่อค่าทางสถิติ • ค่าเฉลี่ย • ค่า Percentile 10, 25, 50, 90 • หาเส้น Line of Best Fit รายงานผลการสำรวจ

  13. วิเคราะห์เงินเดือนจากผลการสำรวจวิเคราะห์เงินเดือนจากผลการสำรวจ อัตรา (บาท) X X X X Line of Best Fit X X X X X X X X ค่างาน (ค่าคะแนน)

  14. การกำหนดโครงสร้างเงินเดือนการกำหนดโครงสร้างเงินเดือน อัตรา (บาท) Policy Line ช่วงกว้างของแท่ง กระบอก/แท่งเงินเดือน ค่างาน (ค่าคะแนน)

  15. ข้อเทคนิคในการจัดทำโครงสร้างเงินเดือนข้อเทคนิคในการจัดทำโครงสร้างเงินเดือน ช่วงเหลื่อมเงินเดือน บาท ช่วงกว้างของกระบอกเงินเดือน 13,330 : : 12,590 12,350 12,110 11,870 ค่าสูงสุด ค่างาน ค่าต่ำสุด ขั้นวิ่ง (step increase) ค่ากึ่งกลาง = (ค่าสูงสุด + ค่าต่ำสุด )/ 2

  16. ค่าสถิติที่สำคัญ บาท ค่าสูงสุด 13,330 : : 12,590 12,350 12,110 11,870 ค่ากึ่งกลาง = (ค่าสูงสุด +ค่าต่ำสุด ) / 2 ค่ากึ่งกลาง = (13,330 + 11,870 ) / 2 = 12,600 ค่าต่ำสุด ค่างาน

  17. โครงสร้างเงินเดือนกำหนดได้ 3 ลักษณะ แบบขั้นเงินเดือน แบบช่วงเงินเดือน แบบอัตราเดียว ลักษณะของโครงสร้างเงินเดือน

  18. ข้อดีข้อด้อยของโครงสร้างเงินเดือนแบบขั้นข้อดีข้อด้อยของโครงสร้างเงินเดือนแบบขั้น ข้อดี 1. ง่ายในการบริหารเงินเดือน 2. สามารถออกแบบให้เหมาะสมกับระยะเวลา ดำรงตำแหน่งได้ง่ายกว่า ข้อด้อย ขาดความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับเศรษฐกิจ 25,180 : : 12,590 12,350 12,110 11,870 แบบขั้นเงินเดือน

  19. ข้อดีข้อด้อยของโครงสร้างเงินเดือนแบบช่วงข้อดีข้อด้อยของโครงสร้างเงินเดือนแบบช่วง ข้อดี ยืดหยุ่นในการบริหารเงินเดือน ข้อด้อย การบริหารเงินเดือนทำได้ยากกว่าแบบขั้น สูงสุด 25,180 ต่ำสุด 11,870 แบบช่วงเงินเดือน

  20. 1. ตำแหน่งที่มีวาระการดำรงตำแหน่ง 2. ตำแหน่งที่ผู้ดำรงตำแหน่งต้องใช้ดุลยพินิจอย่างอิสระ เช่น ตำแหน่งตุลาการ โครงสร้างเงินเดือนแบบอัตราเดียว

  21. ระบบค่าตอบแทนที่เน้นผลงานระบบค่าตอบแทนที่เน้นผลงาน

  22. แนวคิดใหม่ของการบริหารผลงานแนวคิดใหม่ของการบริหารผลงาน การประเมิน ผลงานประจำปี การเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร การมุ่งผลสัมฤทธิ์ สูง ผลต่อองค์กร ต่ำ สูง ความสามารถในการบริหารผลงาน ที่มา :Reward Management เขียนโดย Michael Armstrong และ Helen Murlis หน้า 241

  23. วงจรการบริหารผลงาน พันธกิจ/วิสัยทัศน์ Reward Learning & Development Succession Planning กลยุทธ์องค์กร หน่วยงาน/บุคคล SMART KPIs S = Specific M = Measurable A = Agreed R = Realistic T = Timebound Balanced Scorecard • ด้านการเงิน • ด้านการบริหารภายใน • ด้านลูกค้า • ด้านนวัตกรรม Plan Review Do Monitor/ Coach

  24. ระบบค่าตอบแทนตามผลงาน คือ ระบบที่ : • ผู้ที่มีผลงานดีเด่นได้รับค่าตอบแทนสูงสุด เพื่อส่งเสริมให้สร้าง ผลงานดีเด่นต่อไป • ผู้ที่มีผลงานปานกลางได้รับค่าตอบแทนที่น้อยกว่า แต่ยังคงรักษา“อำนาจการซื้อ” เพื่อกระตุ้นให้สร้างผลงานในระดับที่สูงขึ้น • ผู้ที่มีผลงานต่ำไม่ได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม เพื่อกระตุ้นให้ปรับปรุง ผลงานหรือออกจากองค์กร

  25. วัฒนธรรมองค์กร ระบบการบริหารผลงาน การสื่อสารทำความเข้าใจ การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน ผลงานขององค์กร ปัจจัยสำคัญของระบบค่าตอบแทนตามผลงาน

  26. ระบบค่าตอบแทนภาคราชการแนวใหม่ระบบค่าตอบแทนภาคราชการแนวใหม่

  27. แนวโน้มของค่าตอบแทนภาครัฐแนวโน้มของค่าตอบแทนภาครัฐ ปรับให้สอดคล้อง กับอัตราตลาด Private Pay for Public Work มีหลายบัญชี Multiple Pay Scales เน้นการจ่าย ตามผลงาน Performance- Based-Pay

  28. กำหนดนโยบายด้านค่าตอบแทนในภาพรวมและอัตรากำหนดนโยบายด้านค่าตอบแทนในภาพรวมและอัตรา ค่าตอบแทนของตำแหน่งระดับสูง ครอบคลุมข้าราชการ และพนักงานของรัฐอื่น ๆ ยกเว้นรัฐวิสาหกิจ บทบาทการกำหนดค่าตอบแทนในอนาคต กงช ก.พ. และองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น จะกำหนด บัญชีเงินเดือนที่หลากหลายตามลักษณะงาน โดยอิงกับอัตราตลาดมากขึ้น ทั้งนี้ บัญชีเงินเดือน ในอนาคตจะเป็นแบบช่วงเงินเดือน เพื่อให้กรมมี ความคล่องตัวในการบริหารเงินเดือนให้สอดคล้อง กับบุคคลมากขึ้น ก.พ. บริหารค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์ โดยบริหารค่าตอบแทน ของข้าราชการรายบุคคลในหน่วยงานภายในวงเงิน ที่ได้รับจัดสรร กระทรวง/กรม

  29. เงินเดือนพื้นฐาน ระบบค่าตอบแทน ตำแหน่งงานที่มีลักษณะพิเศษ ช่วยสร้างความมั่นคงในการทำงาน เชื่อมโยงผลสัมฤทธิ์ระหว่างหน่วยงานกับบุคคล Total Pay สะท้อนขนาดงาน ผลงาน (Performance) และ สมรรถนะ (Competency) + + + 1 2 3 4 เงินเพิ่ม โบนัส รายปี สวัสดิการ +

  30. Broadbandingหมายถึง การรวบชั้นของเงินเดือนตามโครงสร้างเงินเดือนแบบเดิม (Traditional Pay Structure) ให้เหลือจำนวนชั้นที่น้อยลงและชั้นของเงินเดือนแต่ละชั้นมีความกว้างมากขึ้นกว่าโครงสร้างเงินเดือนแบบเดิม

  31. ลักษณะของโครงสร้างเงินเดือนลักษณะของโครงสร้างเงินเดือน เน้นค่างานมากกว่าคุณลักษณะบุคคล ระดับตำแหน่งหลายระดับ ช่วงเหลื่อมของขั้นเงินเดือนมาก กำหนดเป็นขั้นเงินเดือน อิงหลัก Learning Curve ในการ ออกแบบขั้นเงินเดือน Broad Bands เน้นคุณลักษณะบุคคลควบคู่กับค่างาน ระดับตำแหน่งน้อยลงมาก กำหนดเป็นช่วงเงินเดือน ช่วงเหลื่อมของขั้นเงินเดือนน้อย หรือ ไม่มีช่วงเหลื่อม Traditional Ranges

  32. เปรียบเทียบโครงสร้างบัญชีเงินเดือนตาม พรบ. ใหม่และปัจจุบัน

  33. ข้อเปรียบเทียบสำคัญ ระบบปัจจุบัน ระบบใหม่ เป้าหมายของระบบ โครงสร้างแท่งเงินเดือน พื้นฐานการจ่ายค่าตอบแทน • เน้นอัตราตลาด • กว้างกว่า • เป็นการรวบชั้นงาน • โครงสร้างแบบช่วงซึ่ง ยืดหยุ่นกว่ามาก • เน้นผลงานควบคู่กับ ระบบอาวุโส • เน้นความเสมอภาค ภายใน • แคบกว่า • มีหลายชั้นงาน • โครงสร้างแบบชั้นซึ่ง มีขั้นเงินเดือนชัดเจน • ระบบอาวุโส

  34. การปรับเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญเข้าตามบัญชีขั้นต่ำขั้นสูงการปรับเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญเข้าตามบัญชีขั้นต่ำขั้นสูง 22,220 21,880 21,520 21,170 20,830 20,470 20,130 19,780 19,420 : 13,400 13,110 12,820 12,530 12,220 11,930 11,650 11,350 11,060 10,770 10,470 10,190 22,220 7,940 18,190 17,890 17,600 17,320 17,020 16,730 : 10,900 10,660 10,420 10,190 9,940 9,700 9,480 9,230 8,990 8,770 8,540 8,320 13,110 บาท 10,190 บาท ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับ 4 ระดับ 5 โครงสร้างเงินเดือนแบบขั้น (ปัจจุบัน) บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูง

  35. การใช้บัญชีเงินเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูง (ไม่มีขั้นเงินเดือน)ตัวอย่าง: ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ 18,190 4,630 6,360 ก.พ. ออก กฎ ก.พ. กำหนดอัตราเงินเดือนตามคุณวุฒิ เช่น ปวช. 5,760 บาท ปวส. 7,100 บาท วันที่ 1 ต.ค. ได้เลื่อนเงินเดือน ตามผลการปฏิบัติงานอีกร้อยละ 5 6,050 5,760 วันที่ 1 เม.ย. ได้เลื่อนเงินเดือน ตามผลการปฏิบัติงานร้อยละ 5 ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน

  36. การปรับเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญเข้าตามบัญชีขั้นต่ำขั้นสูงการปรับเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญเข้าตามบัญชีขั้นต่ำขั้นสูง 22,220 21,880 21,520 21,170 20,830 20,470 20,130 19,780 19,420 : 13,400 13,110 12,820 12,530 12,220 11,930 11,650 11,350 11,060 10,770 10,470 10,190 33,540 10,190 22,220 7,940 13,110 บาท 13,110 บาท ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับ 5 โครงสร้างเงินเดือนแบบขั้น (ปัจจุบัน) บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูง

  37. ผลการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ 22,220 7,940 Q4 Q3 Q2 Q1 ตัวอย่างการปรับบัญชีเงินเดือนตามผลการปฏิบัติงาน Q4 8 5 1.8 1 Q1 10 9 8 5 Q2 9 8 5 3 Q3 8 5 3 1.8 %การปรับเงินเดือน

  38. ขอให้เปรียบเทียบการขึ้นเงินเดือนของบัญชีเงินเดือนแบบขั้นเงินเดือนและแบบช่วงเงินเดือนกลุ่มของท่านพบอะไรบ้างขอให้เปรียบเทียบการขึ้นเงินเดือนของบัญชีเงินเดือนแบบขั้นเงินเดือนและแบบช่วงเงินเดือนกลุ่มของท่านพบอะไรบ้าง กิจกรรม / กรณีศึกษา

  39. บัญชีเงินเดือนแบบขั้นเงินเดือนบัญชีเงินเดือนแบบขั้นเงินเดือน บัญชีเงินเดือนแบบช่วงเงินเดือน 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 13,330 13,090 12,840 12,590 12,350 12,110 11,870 อัตราสูงสุด 13,330 อัตราต่ำสุด 11,870 ขั้นที่ อัตรา (บาท) อัตรา (บาท) 12,600 12,600 mp mp

  40. หากกำหนดวงเงินในการเลื่อนเงินเดือนประจำปี เท่ากับร้อยละ 6 ของฐานเงินเดือนเดิม พิจารณาผลการเลื่อนเงินเดือนด้วยรูปแบบบัญชีเงินเดือน 2 รูปแบบของหน่วยงานข้างล่างนี้ รายชื่อข้าราชการในหน่วยงาน อัตราเงินเดือน ผลการประเมินผลงาน ผลการเลื่อนเงินเดือน นายสมทรง นางสุดา นางรัตนา นางสาวรัชดา นายเมธา นางสาวเมธวดา นายสายสุดา 12,350 12,350 12,110 11,870 11,870 12,350 12,590 ดี ดีเด่น ดี ปานกลาง ต้องปรับปรุง ปานกลาง ปานกลาง 1.5 ขั้น 2 ขั้น 1.5 ขั้น 1 ขั้น 0.5 ขั้น 1 ขั้น 1 ขั้น 7.0% 10.0% 7.0% 5.0% 2.5% 5.0% 5.0% รวมเงินเดือน 85,490 วงเงินในการเลื่อนเงินเดือน% 5,129.40

  41. รูปแบบที่ 1 การเลื่อนขั้นเงินเดือนของบัญชีเงินเดือนแบบขั้นเงินเดือน รายชื่อข้าราชการ อัตราเงินเดือน ผลการประเมินผลงาน ขั้นเงินเดือนใหม่ จำนวนเงิน (บาท) นายสมทรง นางสุดา นางรัตนา นางสาวรัชดา นายเมธา นางสาวเมธวดา นายสายสุดา 12,350 12,350 12,110 11,870 11,870 12,350 12,590 ดี ดีเด่น ดี ปานกลาง ต้องปรับปรุง ปานกลาง ปานกลาง 13,090 13,330 12,840 12,350 12,110 12,840 13,090 740 980 730 480 240 490 500 4,160 รวมเงินเดือน 85,490 วงเงินในการเลื่อนเงินเดือน% 5,129 6%

  42. รูปแบบที่ 2 การเลื่อนเงินเดือนของบัญชีเงินเดือนแบบช่วงเงินเดือน รายชื่อข้าราชการ อัตราเงินเดือน ผลการประเมินผลงาน อัตราเงินเดือนขึ้น จำนวนเงิน (บาท) นายสมทรง นางสุดา นางรัตนา นางสาวรัชดา นายเมธา นางสาวเมธวดา นายสายสุดา 12,350 12,350 12,110 11,870 11,870 12,350 12,590 ดี ดีเด่น ดี ปานกลาง ต้องปรับปรุง ปานกลาง ปานกลาง 7.00% 10.00% 7.00% 5.00% 2.50% 5.00% 5.00% 865 1,235 848 594 297 618 630 5,084 รวมเงินเดือน 85,490 วงเงินในการเลื่อนเงินเดือน% 5,129 6%

More Related