1 / 22

กุมารี พัชนี ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ ( IHPP )

ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. กุมารี พัชนี ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ ( IHPP ) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 22 ธันวาคม 2553.

jasper
Download Presentation

กุมารี พัชนี ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ ( IHPP )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กุมารี พัชนี ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ(IHPP) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 22 ธันวาคม 2553

  2. ความเป็นมา การผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก - ค่าใช้จ่ายสูง - ไม่สามารถเข้าถึงการบริการ - หากผู้ป่วยเด็กไม่ได้รับการผ่าตัดปลูก ถ่ายตับจะป่วยด้วยโรคตับแข็ง และเสียชีวิตใน ท้ายที่สุด สปสช. ได้รับการร้องขอ จากประชาชน การศึกษา ความต้องการงบประมาณ สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

  3. วัตถุประสงค์ ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยสำหรับ ผู้ป่วยแต่ละราย ประมาณการความต้องการงบประมาณในการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า - ความเป็นไปได้ของภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต วิธีการศึกษา • ทบทวนวรรณกรรม • สัมภาษณ์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ • แบบจำลองความต้องการงบประมาณ

  4. อุบัติการณ์และการรักษาอุบัติการณ์และการรักษา • โรคท่อนำดีตีบตันแต่กำเนิด (Biliary atresia) อุบัติการณ์ 1 ใน 15,000 ของทารกคลอดมีชีวิต หรือประมาณ 60-80 รายต่อปี การรักษา • Kasai’s operation คือ การผ่าตัดลำไส้เข้ากับท่อน้ำดีเล็กที่ขั้วตับ • การผ่าตัดปลูกถ่ายตับ (Liver Transplantation) เป็นการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคตับแข็ง ที่เกิดจากท่อน้ำดีตีบตัน ตับที่นำมาปลูกถ่าย ได้มาจาก 2 แหล่ง คือ - ตับของผู้ป่วยภาวะสมองตาย - ผู้บริจาคที่มีชีวิต

  5. จำนวนผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ (2537-2553) ปัญหาที่สำคัญ • การขาดแคลนอวัยวะ • ค่าใช้จ่ายสูง • ทำการผ่าตัดปลูกถ่ายตับได้ประมาณปีละ 40 ราย

  6. อัตราการรอดชีวิตหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก จากแหล่งข้อมูล 7 แหล่ง 6

  7. หลังการรักษา ก่อนการรักษา 7

  8. ข้อมูล Profile เด็กที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ • โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ (** ข้อมูลตามเอกสาร**)

  9. ค่าใช้จ่ายต่อปีและค่าใช้จ่ายสะสมของการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กค่าใช้จ่ายต่อปีและค่าใช้จ่ายสะสมของการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก จากคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ค่าผ่าตัดตับจากผู้บริจาคที่มีชีวิต 150,000 บาท ค่าใช้จ่ายเพื่อเตรียมก่อนการผ่าตัด 50,000 บาท ค่าใช้จ่ายสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ 800,000 บาท

  10. Markov Model

  11. การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ภายหลังจากการผ่าตัดปลูกถ่ายตับการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ภายหลังจากการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ

  12. Model of budget impact analysis (BIA)

  13. Model 1 :มีเด็กที่ต้องการปลูกถ่ายตับประมาณ 60 ราย ต่อ ปี, ปีที่ 1 มีอัตรารอดชีวิตร้อยละ 90, ปีที่ 5 ร้อยละ 85, และปีที่ 10 ร้อยละ 80 * และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 13

  14. Model 2 :มีเด็กที่ต้องการปลูกถ่ายตับประมาณ 40 ราย ต่อ ปี, ปีที่ 1 มีอัตรารอดชีวิตร้อยละ 90, ปีที่ 5 ร้อยละ 85, และปีที่ 10 ร้อยละ 80 * และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 14

  15. Model 3 :มีเด็กที่ต้องการปลูกถ่ายตับประมาณ 40 ราย ต่อ ปี, ปีที่ 1 มีอัตรารอดชีวิตร้อยละ 85, ปีที่ 5 ร้อยละ 82, และปีที่ 10 ร้อยละ 82 * และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 15

  16. Model 1 Model 2 Model 3 16

  17. อภิปรายผล • การพิจารณาความคุ้มค่า เมื่อเทียบกับจำนวน GDP และจำนวนประชากรทั้งหมด ในปี 2552 พบว่า • GDP 2009 = 9,041,551 ล้านบาท • จำนวนประชากรปี 2009 = 66,903,000 คน • GDP per capita =135,144.18 บาท *(NESDB) (ICER per QALY = 273,465 Baht) • ถ้าพิจารณาเปรียบเทียบกับงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้รับในปี 2552 , 2553 และ 2554 • งบประมาณปี 2552 = 108,064.99 ล้านบาท • งบประมาณปี 2553 = 117,968.83 ล้านบาท • งบประมาณปี 2554 = 129,280.89 ล้านบาท (40ล้าน / 108,064.99 ล้าน)*100 = 0.04 คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.04 ของงบประมาณที่ได้รับในแต่ละปี

  18. ข้อจำกัดการศึกษา • มีความจำกัดของข้อมูลด้านตัวเลข เช่น อัตราอุบัติการณ์ และความชุก • ข้อมูลเรื่อง ผลข้างเคียง และ ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ ที่มีข้อมูลค่อนข้างน้อย • ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับและค่าใช้จ่ายจากภาวะแทรกซ้อนหลังการรักษา • ขาดข้อมูลเรื่อง quality of life ภายหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ

  19. บทสรุป • ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อเทียบกับค่า ICER พบว่า ต้นทุนระหว่าง 1-3 เท่าของ GDP per Capita per QALY มีประสิทธิผลต้นทุน • อัตราการรอดชีวิตที่แตกต่างกันในแต่ละ Model พบว่าทำให้เกิดภาระด้านงบประมาณไม่แตกต่างกันมากนัก • ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายและการดูแลผู้ป่วยในระยะยาว คือ การเข้าถึงบริการและจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในแต่ละปี และค่ายากดภูมิคุ้มกัน • สิ่งที่ควรคำนึง ถ้ารัฐบาลต้องการขยายการรักษาพยาบาลนี้เข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ในระยะยาว • เพิ่มการบริจาคเนื้อเยื่อตับที่จะนำมาปลูกถ่ายให้กับเด็ก • จำนวนสถานพยาบาลที่ให้บริการ

  20. คำถามจากคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์คำถามจากคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ • ผู้ป่วยรายเก่าที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับแล้ว เป็นสิทธิใดบ้าง มีชีวิตอยู่กี่คน (อัตราการรอดชีวิตในช่วง 5-10 ปีที่ผ่านมา / คุณภาพชีวิตเป็นอย่างไร) • ระบบบริการ สามารถขยายศักยภาพในการให้บริการได้มากกว่า 40 รายต่อปีได้หรือไม่ • ความคิดเห็นของผู้ให้บริการและองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องต่อผลการศึกษานี้

  21. คำถามจากผู้วิจัย • ค่าใช้จ่ายโดยรวมของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ? • คุณภาพชิวิตและการดำเนินชิวิตของผู้ป่วยหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับมีค่าประมาณเท่าใด? • ปริมาณยากดภูมิคุ้มกันที่ผู้ป่วยได้รับจริง ซึ่งจะลดลงเมื่อผู้ป่วยมีการตอบสนองดีขึ้นในระยะยาว แต่ปริมาณยาจะเพิ่มขึ้นตามน้ำหนักตัวของผู้ป่วย • ความเป็นไปได้ของการปรับลดราคายากดภูมิคุ้มกัน หากมีการอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการรักษา • เนื้อเยื่อตับบริจาคจากทั้ง 2 แหล่งกับจำนวนความต้องการของผู้ป่วย • การพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลผู้ป่วยเพื่อเก็บข้อมูลในระยะยาว

  22. กิตติกรรมประกาศ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) • นพ. สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการ สปสช. • โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ • โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ • โรงพยาบาลรามาธิบดี Thank you..

More Related