1 / 38

การบริโภค การออม และการลงทุน

การบริโภค การออม และการลงทุน. Classical Theory and The Keynesian Revolution. Classical Theory. Classical Economist : Adam Smith มีการจ้างงานเต็มที่ในระยะยาว Say’s Law Supply creates its own Demand. Keynesian School of Economics. John Maynard Keynes

jeneva
Download Presentation

การบริโภค การออม และการลงทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริโภคการออมและการลงทุนการบริโภคการออมและการลงทุน

  2. Classical TheoryandThe Keynesian Revolution

  3. Classical Theory • Classical Economist : Adam Smith • มีการจ้างงานเต็มที่ในระยะยาว • Say’s Law Supply creates its own Demand

  4. Keynesian School of Economics • John Maynard Keynes • The General Theory of Employment, Interest and Money(ปี ค.ศ. 1939) • Demand creates its own Supply

  5. Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)

  6. รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออมConsumption Expenditure [C]and Saving [S]

  7. รายได้ C รายได้ C S ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(Disposable Income) S

  8. ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออมปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่องสินทรัพย์สภาพคล่องคือสิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน(Money)ได้แก่เงินสดเงินฝากกระแสรายวันเงินฝากประจำพันธบัตรทองคำหุ้นและที่ดินซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก

  9. นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท > C ก C ข

  10. ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออมปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • สินค้าถาวรที่ผู้บริโภคมีอยู่ • อุปนิสัยในการใช้จ่ายของผู้บริโภค • สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย • การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต • การคาดคะเนรายได้ในอนาคต • ปัจจัยอื่นๆ

  11. ฟังค์ชั่นการบริโภค C = f(Yd, A1, A2, A3, …) เมื่อ Cคือรายจ่ายเพื่อการบริโภค Ydคือรายได้สุทธิหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(DI) A1, A2, A3,…คือปัจจัยอื่นๆ ฟังค์ชั่นการบริโภคและการออม

  12. ในระยะสั้น Consumption Functionคือ Saving Function S = f ( Yd ) C = f (Yd) ฟังค์ชั่นการบริโภคและการออม ฟังค์ชั่นการบริโภค C = f(Yd, A1, A2, A3, …)

  13. C Yd ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค(Average Propensity to Consume : APC) • อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ • ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ APC =

  14. S Yd ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม(Average Propensity to Save : APS) • อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ • ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ APS =

  15. C  Yd ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค(Marginal Propensity to Consume : MPC) • อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ MPC =

  16. S  Yd ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย(Marginal Propensity to Save : MPS) • อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ MPS =

  17. Yd C S APC APS MPC MPS 0 100 -100 - - - - 100 175 -75 1.75 -0.75 0.75 0.25 200 250 -50 1.25 -0.25 0.75 0.25 300 325 -25 1.08 -0.08 0.75 0.25 400 400 0 1.00 0 0.75 0.25 500 475 25 0.95 0.05 0.75 0.25 600 550 50 0.92 0.08 0.75 0.25 700 625 75 0.89 0.11 0.75 0.25 800 700 100 0.88 0.12 0.75 0.25

  18. C, S C = Yd C 700 600 500 400 ระดับรายได้เสมอตัว (Break even) 300 200 S 100 Yd 0 200 400 600 800 -100

  19. Yd = 500  APC = 0.95 , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd = C + S Yd Yd Yd 1 = + APS APC

  20. MPC Keynes : 0 < MPC < 1 เมื่อ Ydเพิ่มขึ้น Cจะเพิ่มขึ้น แต่ Cจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าYdที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1

  21. MPC = 0.75 , MPS = 0.25 ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C + S  Yd = C +S ดังนั้น Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd Yd Yd 1 = + MPS MPC

  22. การลงทุน (Investment : I)

  23. การลงทุน(Investment : I) • ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าทุน (Capital goods) • การใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือทำให้การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น

  24. การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์การซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไรการซื้อสินทรัพย์และหลักทรัพย์มือสองไม่ถือเป็นการลงทุนแต่เป็นการลงทุนทางการเงิน(Financial Investment)

  25. ประเภทของการลงทุน • การลงทุนโดยอิสระ(Autonomous investment) • การลงทุนโดยจูงใจ(Induced investment)

  26. I Ia Y การลงทุนโดยอิสระ(Autonomous investment) • ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนที่ไม่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติ

  27. Ii I Y I Y I Y การลงทุนโดยจูงใจ(Induced investment) • การลงทุนที่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติและความสัมพันธ์นี้จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

  28. G C Y I • รายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ต้องเป็นรายได้ที่องค์กรธุรกิจคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างถาวรเป็นระยะเวลานานจึงจะมีผลจูงใจให้กลุ่มธุรกิจลงทุนเพิ่ม

  29. ระบบเศรษฐกิจที่ไม่มีรัฐบาลและการค้าระหว่างประเทศระบบเศรษฐกิจที่ไม่มีรัฐบาลและการค้าระหว่างประเทศ GDP = Y = C + I Y I = 25 ล้านบาท (Cคงที่) Multiplier = 100 ล้านบาท ตัวทวีหรือตัวคูณ(Multiplier)

  30. ตัวทวีหรือตัวคูณ(Multiplier) • ตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน(I)แล้วระดับรายได้ประชาชาติ(Y) จะเปลี่ยนแปลงไปในสัดส่วนเท่าใดของการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนนั้น • ตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน(I)ระดับรายได้ประชาชาติ(Y)จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับตัวทวีคูณด้วยปริมาณการเปลี่ยนแปลงในค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนนั้น

  31. Y = C + I = 100 ล้านบาท Y I = 25 ล้านบาท (Cคงที่) 100 = 25 4 x ถ้ามีการลงทุนเพิ่มขึ้น 1 หน่วย รายได้ประชาชาติจะเพิ่มขึ้น 4 เท่าของการลงทุนที่เพิ่มขึ้น Multiplier

  32. I Y I 100 = 4 x 25 Y = x k ( k : Multiplier ) k =

  33. กำหนด MPC = 0.75 MPS = 0.25 การทำงานของตัวทวี การลงทุนที่เพิ่มขึ้น I รอบการใช้จ่าย การเพิ่มขึ้นของรายได้ Y การบริโภคที่เพิ่มขึ้น การออมที่เพิ่มขึ้น 25 1 25.00 18.75 6.25 1 x 25 = 2 18.75 14.06 4.69 0.75 x 25 = 3 14.06 10.55 3.51 (0.75)2 x 25 = 4 10.55 7.91 2.64 (0.75)3 x 25 = 5 7.91 5.93 1.98 (0.75)4 x 25 = ... ... ... ... I= 25 รวม 100 75 25

  34. (1 x 25) + (0.75 x 25) + ((0.75)2 x 25) + ((0.75)3 x 25) + ((0.75)4 x 25) + ... 100 = (1 + 0.75 + 0.752 + 0.753 + 0.754 + ... + 0.75n ) x 25 100 = 1 1 1 1 100 = x 25 x 25 = 1 – MPC MPS 0.25 1 – 0.75 Y = x  I x  I =

  35. Y = k x ( k : Multiplier ) I 1 1 x  I Y= 1 – MPC 1 – MPC k = 1 x  I Y= MPS 1 Y = = MPS I

  36. Y = C + I Y = C +I Y Y Y 1 = MPC + I I Y Y 1 - MPC = 1 = MPS Y 1 k = = I 1 – MPC

  37. จาก 0 < MPC < 1 k = Y = 1 < k <  k k 4 4 Y Y 100 100 พิจารณาถ้าI = 25 4 MPC = 0.75 100 < MPC < 0.75 < > MPC > 0.75 >

  38. เดิมรายได้ประชาชาติเท่ากับ 100 ล้านบาท ต่อมามีการลงทุนเพิ่มขึ้น 20 ล้านบาท รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับเท่าใด ถ้า MPC = 0.8 5 k = = 1 1 k = 5 = = 1 – MPC 1 – 0.8 Y Y I 20 Y = 5 x 20 = 100 ล้านบาท รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับ 200 ล้านบาท

More Related