1 / 15

รองศาสตราจารย์สุจินต์ วิจิตรกาญจน์

รองศาสตราจารย์สุจินต์ วิจิตรกาญจน์. ตำแหน่ง เลขาธิการสภาการพยาบาล ที่ทำงาน สภาการพยาบาล. ภาคีสภาวิชาชีพ การจัดสัมมนาใหญ่ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยของผู้ป่วยจากการใช้ยา วันที่ 5 กันยายน 2551 ณ โรงพยาบาลราชวิถี กทม. รองศาสตราจารย์ สุจินต์ วิจิตรกาญจน์ เลขาธิการสภาการพยาบาล.

Download Presentation

รองศาสตราจารย์สุจินต์ วิจิตรกาญจน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รองศาสตราจารย์สุจินต์ วิจิตรกาญจน์ ตำแหน่ง เลขาธิการสภาการพยาบาล ที่ทำงาน สภาการพยาบาล

  2. ภาคีสภาวิชาชีพ การจัดสัมมนาใหญ่ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยของผู้ป่วยจากการใช้ยา วันที่ 5 กันยายน 2551 ณ โรงพยาบาลราชวิถี กทม. รองศาสตราจารย์ สุจินต์ วิจิตรกาญจน์ เลขาธิการสภาการพยาบาล

  3. สภาการพยาบาลเป็นองค์กรวิชาชีพตามกฎหมายเกิดขึ้นตาม พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ในปี พ.ศ. 2528 และได้มีการปรับปรุงตาม พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์ ตามมาตรา 7 ดังนี้ 1. ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพฯให้ถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ 2. ส่งเสริมการศึกษาการบริการการวิจัยและความก้าวหน้าในวิชาชีพฯ 3. ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก

  4. 4. ช่วยเหลือแนะนำเผยแพร่และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องเกี่ยวกับวิชาชีพฯ 5. ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาลการผดุงครรภ์และการสาธารณสุข 6. เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพฯ 7. ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก

  5. เจตนารมณ์ของ พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 คือ มุ่งมั่นคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพและ ผู้ให้บริการด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพทุกด้านอย่างต่อเนื่อง ชี้นำสังคมด้านสุขภาพ ส่งเสริมวิชาชีพให้มีความก้าวหน้า สู่สากล โดยการมีส่วนร่วมของสมาชิกและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

  6. “การพยาบาล” หมายความว่า การกระทำในการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยเพื่อบรรเทาอาการของโรค และการลุกลามของโรค การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอนามัย และการป้องกันโรค รวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์ และการกระทำตามคำสั่งในการรักษาโรคของแพทย์ ทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล

  7. การเสริมสร้างความปลอดภัยของผู้ป่วยจากการใช้ยาจะต้องป้องกันการผิดพลาดที่สามารถจะเกิดขึ้นได้ทั้ง 5 ขั้นตอน คือ - Ordering (Prescribing) - Transcribing - Dispensing - Administering - Monitoring

  8. Guideline for Medication Errors Prevention : Administering Errors

  9. 1. Order management(1) ประเด็นความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ต้อง ควร แนะนำ 1.1 เขียน order ผิดเตียง 1.1 ระบุ ชื่อ-สกุล, HN, อายุ หรือ วัน/เดือน/ปีเกิด x ที่หน้า chart และ Order sheet ทุกแผ่น และต้องระบุให้ครบ ก่อนให้แพทย์ ใช้สั่งการรักษา 1.2 ลายมือไม่ชัดเจน / 1.2 ทวนสอบ Order กับแพทย์ผู้สั่ง x ไม่ครบถ้วน จนได้ความที่ชัดเจนทุกครั้ง (unclear order) 1.3 การคัดลอกผิดพลาด 1.3 พยาบาลที่รับ Order บันทึกลง MAR ต้องทำการ x Double Check/Re-check ยาให้ตรงกับคำสั่ง การรักษา (Cross check กรณี 2 คน, Re-check กรณีมีพยาบาลคนเดียว)

  10. 1. Order management(2) ประเด็นความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ต้อง ควร แนะนำ 1.4 การรับ order 1.4(1) บันทึกคำสั่งใน Order sheet โรงพยาบาล ทางโทรศัพท์ และอ่านทวนคำสั่งการรักษา ควรกำหนดเป็น ตามที่บันทึกใน Order Sheet นโยบายให้แพทย์ ให้แพทย์ฟังพร้อมทั้งให้แพทย์ ต้องมาลงนามกำกับ ยืนยันคำสั่งการรักษานั้น ภายใน 24 ชั่วโมง ว่าถูกต้อง 1.4(2) พยาบาลบันทึก รคส.ชื่อแพทย์ ที่ Order ชื่อพยาบาล ที่บันทึก คำสั่งแผนกการรักษา, วันและ เวลาที่รับคำสั่งการรักษา

  11. 2. ได้รับยาจากเภสัชกรไม่ตรงคำสั่ง ประเด็นความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ต้อง ควร แนะนำ 2. ได้รับยาจาก 2.1 ตรวจสอบความถูกต้องของ x เภสัชกร ไม่ตรง ข้อมูลยาจากฉลากยา ตามคำสั่งแพทย์ ให้ตรงในคำสั่งการรักษา 2.2 ตรวจสอบความถูกต้อง x ของชนิดยา โดยตรวจสอบกับ ข้อมูลลักษณะยา ที่โรงพยาบาล เตรียมไว้ เช่นรูปภาพ 2.3 กรณีได้รับยาไม่ตรงตาม Order x แจ้งให้ฝ่ายเภสัชกรรม แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้อง รายงานตามระบบ ME

  12. 3. การจัดเก็บยา ประเด็นความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ต้อง ควร แนะนำ 3.1 ไม่ตรงกับช่อง 3.1(1) จัดเก็บยา ในที่เก็บยา x เก็บยาของผู้ป่วย เฉพาะของผู้ป่วยแต่ละราย แต่ละราย 3.2 ไม่ถูกต้องกับ 3.2(1) มีเอกสารกำหนดวิธีการ x คุณสมบัติของยา เก็บรักษายา โดยระบุวิธีเก็บ ยาแต่ละชนิด เช่นในตู้เย็น 3.2(2) มีการควบคุมอุณหภูมิ x ของตู้เย็นสำหรับเก็บยา 3.3 ย้ายเตียงผู้ป่วย 3.3(1) สื่อสารให้เจ้าหน้าที่ทุกท่านทราบ x เมื่อย้ายเตียงผู้ป่วย, ส่งเวร

  13. 4. การจัดเตรียมยา : ประเด็นความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ต้อง ควร แนะนำ 4. การจัดเตรียมยา : Wrong drug, 1. ตรวจสอบประวัติการแพ้ยา x Wrong dose / 2. เตรียมยาตามคู่มือของสถาบัน x strength , ที่กำหนดไว้โดยสหสาขาวิชาชีพ x Wrong time , 3. ยาที่เป็น HAD ต้องมี x Omission Double Check/Recheck 4. ยาที่จัดเตรียมล่วงหน้า ต้องระบุ ชื่อ-สกุล, HN , doseยา ความเข้มข้น , วันเวลาที่ผสม , ผู้ผสม , วัน/เวลาหมดอายุ

  14. 5. การแจกยาแก่ผู้ป่วย ประเด็นความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ต้อง ควร แนะนำ 5. การแจกยาแก่ผู้ป่วย Wrong patient, 1. Identify ผู้ป่วยให้ถูกต้อง โดยถาม x Wrong Route, ชื่อ – นามสกุลและ ป้ายข้อมือ Wrong Rate, ตามระบบลายลักษณ์อักษร Wrong Technique 2. ให้ข้อมูลยาและเปิดโอกาส x ให้ผู้ป่วยซักถาม 3. ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้า x 4. ติดตามประเมินอาการ และ x ประสิทธิผลของยา หลังให้ยา 5. ต้องสอบความเที่ยงของอุปกรณ์ x การให้ยา เพื่อ ตรวจสอบ ความแม่นตรงเป็นระยะๆ

More Related