1 / 52

การวัดและประเมินผลตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

การวัดและประเมินผลตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน์ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น.

Download Presentation

การวัดและประเมินผลตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  2. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานวิสัยทัศน์ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมาย/จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษารหัสรายวิชา คำอธิบายรายวิชาเวลาเรียน/หน่วยกิต โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้

  3. มาตรฐาน

  4. คุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน

  5. standards ทำอะไรได้ “What student should know and be able to do.” (Marzano, 1998) รู้อะไร

  6. ตัวชี้วัดชั้นปี / ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

  7. ตัวชี้วัดชั้นปี/ช่วงชั้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

  8. จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน คือ คุณภาพในตัวผู้เรียนที่มีความครอบคลุม ในด้านความสามารถและทักษะ และด้านคุณลักษณะที่จะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร

  9. โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา

  10. โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

  11. โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา

  12. โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

  13. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ หลักการพื้นฐานของ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน

  14. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร ? เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) ระดับชั้นเรียน ระดับ การประเมิน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ

  15. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) พัฒนาผู้เรียนเต็มศักยภาพ ภาระความรับผิดชอบ ในการพัฒนาผู้เรียน บนพื้นฐาน ของข้อมูลการประเมิน ตอบสนองตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทันท่วงที

  16. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน การเลื่อนชั้นและการซ้ำชั้น เกณฑ์การวัด และ ประเมินผลการเรียน เกณฑ์การจบการศึกษา

  17. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) ระเบียนแสดงผลการเรียน ปพ.1 เอกสาร หลักฐานการศึกษา ประกาศนียบัตร ปพ.2 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา ปพ.3

  18. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) การเทียบโอนผลการเรียน การจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา

  19. การตัดสินผลการเรียน อ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน 80%    ตัวชี้วัด ทุกรายวิชา ได้รับการตัดสิน 

  20. การกำหนดเกณฑ์การตัดสินระดับประถมศึกษาการกำหนดเกณฑ์การตัดสินระดับประถมศึกษา สวก.สพฐ.

  21. การกำหนดเกณฑ์การตัดสินระดับมัธยมศึกษาการกำหนดเกณฑ์การตัดสินระดับมัธยมศึกษา สวก.สพฐ.

  22. การเปลี่ยนผลการเรียน การเปลี่ยนผลการเรียน “๐” การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” การซ้ำชั้นรายวิชา การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” สวก.สพฐ.

  23. การสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการหรือเจตคติ/ คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ๑) กรณีผู้เรียนไม่ผ่านผลการประเมินตามตัวชี้วัด ๒) ผู้เรียนที่ได้ระดับผลการเรียน “๐” สวก.สพฐ.

  24. การเลื่อนชั้น ๑)ผู้เรียนมีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒)ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน ๓)ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด สวก.สพฐ.

  25. การเรียนซ้ำชั้นระดับประถมศึกษาการเรียนซ้ำชั้นระดับประถมศึกษา กรณีที่ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็น ปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น แต่สถานศึกษาอาจใช้ดุลยพินิจให้เลื่อนใช้ได้ กรณี ๑) มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อันเนื่องมาจากสาเหตุจำเป็นหรือสุดวิสัย ๒) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนด แต่สามารถสอนซ่อมเสริมได้ ๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่าน สวก.สพฐ.

  26. การเรียนซ้ำชั้นระดับมัธยมศึกษาการเรียนซ้ำชั้นระดับมัธยมศึกษา ๑) ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษา นั้นต่ำกว่า ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อ การเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น ๒) ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของ รายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น สวก.สพฐ.

  27. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สวก.สพฐ.

  28. การรายงานผลการเรียน ต้องสรุปผลการเรียนรายงานให้ผู้ปกครองทราบความก้าวหน้า • เป็นระยะ ๆ หรือ • ภาคเรียนละ 1 ครั้งเป็นอย่างน้อย

  29. เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษาเกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา • เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

  30. เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรสถานศึกษา ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน .....ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติม จำนวน...ชั่วโมง และมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านทุกรายวิชา 1 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป 2 3 4

  31. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และ รายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็น รายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

  32. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามหลักสูตรสถานศึกษาเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามหลักสูตรสถานศึกษา • ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน.........หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน.........หน่วยกิต • ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็น รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต • ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป • ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป • ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน • “ผ่าน” ทุกกิจกรรม

  33. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41หน่วยกิต และ รายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

  34. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน.........หน่วยกิต เป็นรายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน ไม่น้อยกว่า ....... หน่วยกิต 1 ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต เป็น รายวิชาพื้นฐาน ๔๑หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต 2 3 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป 3 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นป 4 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม 5 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรสถานศึกษา

  35. เอกสารหลักฐานการศึกษาเอกสารหลักฐานการศึกษา • เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด • ระเบียนแสดงผลการเรียน • ประกาศนียบัตร • แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา • เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด

  36. การเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนผลการเรียน • ดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก • ผู้เรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน • การเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม • การพิจารณาการเทียบโอน ให้ดำเนินการ ดังนี้ • พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ • พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ • พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง

  37. การนำสู่การปฏิบัติ • จัดทำนโยบาย รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สถานศึกษา • กำหนดเกณฑ์การประเมิน การผ่านตัวชี้วัด • จัดทำแนวปฏิบัติและเกณฑ์การประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กำหนดกระบวนการตัดสินผลการเรียน • กำหนดแนวปฏิบัติการอนุมัติการเลื่อนชั้น การเลื่อนชั้นระหว่างปี การซ้ำชั้น ฯลฯ • กำหนดภารกิจครูผู้สอน • จัดทำคู่มือครู คู่มือนักเรียน • ฯลฯ

  38. แนวทางการประเมินผลรายวิชา • ประเมินความรู้ ความสามารถ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัด • เน้นการประเมินแบบ Formative มากกว่าSummative • Formative 70 - 100% Summative 0 - 30% • สนับสนุนการประเมินแบบ Alternative Assessment • Authentic Performance Tasks, Work Projects, Portfolios • เน้นการปรับปรุงซ่อมเสริมในระดับ Formative • สื่อสาร/หารือ ผู้เรียน ผู้ปกครอง ที่ปรึกษา ครูแนะแนว • ถ้าทำถูกต้อง ไม่น่าจะมี 0

  39. 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลระหว่างเรียน นักเรียน 2. - กระบวนการสอนซ่อมเสริม - เงื่อนไข/เกณฑ์ 1 ไม่ผ่าน 3. กระบวนการแก้ “0” สอบแก้ตัว 2 ครั้งไม่ผ่านเรียนซ้ำรายวิชา วัดผลกลางภาค 2 ผ่าน 4. กระบวนการแก้ “ร” “มผ” และ “มส” 1 ครบ เวลาเรียน วัดผลปลายภาค ไม่ครบ “ร” 0 “มผ” “มส” ได้ระดับผลการเรียน1-4 3 4 4 4 เลื่อนชั้นจบระดับชั้น แผนภูมิแสดงการประเมินผลการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา

  40. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน วิธีการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ควรจัดในระหว่าง การเรียนการสอนในห้องเรียน ไม่ควรแยกมาจัดสอบปลายภาคหรือปลายปี ยกเว้น โรงเรียนมีได้พัฒนาแบบทดสอบหลาย ๆ ชุด เพื่อนำมาใช้ตรวจสอบและสรุปผลเป็นระยะ สิ่งที่ทำการประเมิน เป้าหมายของการประเมิน สิ่งที่ผู้ประเมินต้องเข้าใจ ขอบข่ายและตัวชี้วัดการประเมิน วิธีการประเมิน ระยะเวลาในการประเมิน การรายงานผลการประเมิน สวก.สพฐ.

  41. แนวทางการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนของสถานศึกษา ว ๑.๑ (๑/๔)สังเกต ตั้งคำถาม อภิปรายและอธิบายหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของ มนุษย์ การทำงานสัมพันธ์กันของอวัยวะต่างๆ ของมนุษย์ และนำ ความรู้ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ ง ๑.๑ (๑/๒) รวบรวมข้อมูล วางแผนปฏิบัติงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความ รับผิดชอบและมีความสุขในการทำงาน ท ๒.๑ (๑/๒) ใช้ทักษะในการเขียนบันทึกต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิด จินตนาการต่างๆ ตามวัย

  42. โรงเรียนที่มีความพร้อมสูงโรงเรียนที่มีความพร้อมสูง ครูบูรณาการการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านทุกสาระ/กิจกรรม ร.ร.จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน ครูวัดผล ประมวลผลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด คณะกรรกรรมการฯจัดประเมินโดยเครื่องมือมาตรฐาน ให้ระดับคุณภาพ อนุมัติ

  43. โรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลางโรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลาง ครูผู้สอนในกลุ่มสาระ/กิจกรรม ครูวัดผล ประมวลผลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ประเมินนักเรียนแต่ละคนที่สอนตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด บูรณาการการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านทุกสาระ/กิจกรรม ให้ระดับคุณภาพ อนุมัติ

  44. แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา

  45. คุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ

  46. การประเมินออกจากตัวชี้วัดของกลุ่มสาระวิชาการประเมินออกจากตัวชี้วัดของกลุ่มสาระวิชา กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ครูวัดผล ประมวลผลโดยใช้ฐานนิยม ครูผู้สอน/ครูที่รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมส่งระดับการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด อนุมัติ

  47. การสรุปผลการเรียน การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระดับการประเมิน ดีเยี่ยม ผ่าน ดี ไม่ผ่าน สวก.สพฐ.

  48. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน 1.เวลาที่เข้าร่วมกิจกรรม 2.การปฏิบัติกิจกรรม 3.ผลงาน/ชิ้นงาน ตามเกณฑ์ ไม่ตามเกณฑ์ ไม่ผ่าน ประเมิน ผ่าน ซ่อมเสริม ส่งผลการประเมิน

More Related