1 / 50

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และ การเลื่อนเงินเดือน

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และ การเลื่อนเงินเดือน. การบริหารผลการปฏิบัติราชการ กับ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. ทำอะไร. ทำอย่างไร. วิสัยทัศน์องค์กร. ยุทธศาสตร์. วัฒนธรรมองค์กร. สมรรถนะ ที่จะผลักดันให้ วิสัยทัศน์เป็นจริง. เป้าหมายระดับองค์กร. ค่านิยม ความเชื่อ.

Download Presentation

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และ การเลื่อนเงินเดือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และ การเลื่อนเงินเดือน กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดกาฬสินธุ์

  2. การบริหารผลการปฏิบัติราชการกับ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ทำอะไร ทำอย่างไร วิสัยทัศน์องค์กร ยุทธศาสตร์ วัฒนธรรมองค์กร สมรรถนะ ที่จะผลักดันให้ วิสัยทัศน์เป็นจริง เป้าหมายระดับองค์กร ค่านิยมความเชื่อ เป้าหมายระดับสำนัก/กอง ความรู้ความ สามารถในงาน เป้าหมายระดับบุคคล พฤติกรรมที่แสดงออก การบริหารผลการปฏิบัติราชการ 2

  3. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ 69 วางแผน (Plan) ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop)

  4. การบริหารผลการปฏิบัติราชการการบริหารผลการปฏิบัติราชการ มาตรฐานและแนวทางการกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ว 27 / 2552 ว 7 / 2553 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ว 20 /2552 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ว 28/2552 การบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ

  5. หลักการ •มีความยืดหยุ่นในการเลือกวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการที่เหมาะกับลักษณะงาน และมีความคล่องตัวใน การนำผลการประเมินไปประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน • มีความโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้

  6. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ หมายถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นเหตุแห่งความสำเร็จของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร เป้าหมายในด้านอื่นๆ หมายถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในด้านอื่นๆ ซึ่งไม่ได้เป็นเหตุโดยตรงของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร แต่มาจากภารกิจและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน และตำแหน่งที่รับผิดชอบ รวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ องค์ประกอบการประเมิน 2. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะที่คาดหวัง) 1.ผลสัมฤทธิ์ของงาน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายอื่นๆ (สอดคล้องกับเป้าหมาย ระดับองค์กร) (สอดคล้องกับงานตามภารกิจ หรืองานที่ได้มอบหมายพิเศษ) 3. องค์ประกอบการประเมินอื่น ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย 6

  7. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ว 20/2552 สาระสำคัญ วัตถุประสงค์ และ หลักการ องค์ประกอบ สัดส่วนคะแนน การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ระดับผลการประเมิน และ แบบประเมิน การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค

  8. วัตถุประสงค์ : พัฒนางาน พัฒนาคน เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการกำกับติดตามเพื่อให้ส่วนราชการและจังหวัดสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า เพื่อให้ผู้บังคับบัญชานำผลการประเมินการปฏิบัติราชการไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน และการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามหลักการของระบบคุณธรรม

  9. องค์ประกอบ : สัดส่วนคะแนน 9

  10. การพิจารณาผลการปฏิบัติราชการของบุคคล จะพิจารณาจากอย่างน้อย (1)องค์ประกอบผลสัมฤทธิ์ของงาน และ (2) องค์ประกอบพฤติกรรม องค์ประกอบผลสัมฤทธิ์ของงาน ผลลัพธ์ หรือผลผลิต ที่ควรทำได้ (What) ประเมินด้วยตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายที่ตกลงไว้ ทำอย่างไรจึงทำให้เกิด ผลลัพธ์หรือผลงาน (What) ประเมินโดยอ้างอิงนิยามสมรรถนะที่สะท้อนพฤติกรรมที่มุ่งหวัง องค์ประกอบพฤติกรรม

  11. ภาพรวมระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการภาพรวมระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุป 70

  12. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆ เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล 1. ไม่ว่าจะใช้กำหนดตัวชี้วัดวิธีใด จะต้องคำนึงขอบเขตงานที่ผู้รับการประเมินรับผิดชอบหรือได้รับการมอบหมายเสมอ 2. พิจารณาจำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม ครอบคลุมเนื่องาน/ความคาดหวังที่สำคัญ 3. ผู้ประเมิน(ผู้บังคับบัญชา)จะต้องรู้ถึงเป้าหมาย/ความคาดหวังจากผู้ปฏิบัติ 4. การกำหนดตัวชี้วัด จะต้องคำนึงถึงมิติที่ใช้ในการจำแนกผลการปฏิบัติงาน เพื่อที่จะนำมิตินั้นๆ มาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 5. คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูล และภาระในการเก็บข้อมูล

  13. การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ มาตรฐานและแนวทางการกำหนดความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ว 27/2552 ลงวันที่ 29 กันยายน 2552 (ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ) ว 7/2553 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 (บริหาร)

  14. กรอบการกำหนดค่าเป้าหมาย 5 ระดับ ค่าเป้าหมายในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐานโดยทั่วไป ระดับที่ 1 : ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ หนึ่ง คะแนน ระดับที่ 2 : ค่าเป้าหมายระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สอง คะแนน ระดับที่ 3 : ค่าเป้าหมายระดับมาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สาม คะแนน ระดับที่ 4 : ค่าเป้าหมายระดับยากปานกลาง ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สี่ คะแนน ระดับที่ 5 : ค่าเป้าหมายระดับยากมาก ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ ห้า คะแนน

  15. การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย อาจปรับเปลี่ยนได้ เมื่องานที่ได้รับมอบหมายเปลี่ยนแปลงไปจากต้นรอบการประเมิน ทั้งนี้ ผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน ควรพิจารณาคัดกรองตัวชี้วัดเพื่อให้ได้จำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ การพิจารณาจากประเด็นที่ต้องปรับปรุง การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน การประเมินสมรรถนะโดยผู้บังคับบัญชา การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงาน จากบนลงล่าง การประเมินสมรรถนะแบบ ๓๖๐ องศาฯลฯ คัดกรอง งานและการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นได้ระหว่างรอบการประเมินฯ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของผู้รับการประเมิน ณ ต้นรอบการประเมิน ตัวชี้วัด และ เป้าหมายที่ใช้ในการประเมิน ณ การประเมิน 15

  16. เกี่ยวกับการประเมินสมรรถนะเกี่ยวกับการประเมินสมรรถนะ ส่วนราชการสามารถเลือกวิธี และ มาตรวัดในการประเมินสมรรถนะได้ - วิธีการ : จะประเมินโดย (1) วิธีผู้ประเมินคนเดียว เช่น ประเมินโดยผู้บังคับบัญชา (2) วิธีให้ผู้รับการประเมินทำการประเมินตนเองก่อน และสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมิน (3) วิธีประเมินหลายคน เช่น 360 องศา - มาตรวัด : จะใช้มาตรวัดแบบ (1) มาตรวัดแบบ Bar scale (2) มาตรวัดแบบ Rating scale (3) มาตรวัดแบบ Hybrid scale

  17. ระดับผลการประเมิน 17

  18. สมรรถนะ • สมรรถนะหลัก • มุ่งผลสัมฤทธิ์ • บริการที่ดี • สั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม • การทำงานเป็นทีม การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้พิจารณาจากสมรรถนะหลัก 5 ตัวของสำนักงาน ก.พ. และสมมรถนะอื่นๆ เพิ่มเติมตามที่ส่วนราชการกำหนด และสามารถกำหนดมาตรวัดในการประเมินได้ตนเอง 18

  19. คำจำกัดความของสมรรถนะคำจำกัดความของสมรรถนะ คำจำกัดความ: ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มาก่อน การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation-ACH) คำจำกัดความ: สมรรถนะนี้เน้นความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการเพื่อสนองความต้องการของประชาชนตลอดจนของหน่วยงานภาครัฐอื่นๆที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี(Service Mind-SERV) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ(Expertise-EXP) คำจำกัดความ: ความขวนขวาย สนใจใฝ่รู้ เพื่อสั่งสม พัฒนา ศักยภาพ ความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งรู้จักพัฒนา ปรับปรุง ประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ คำจำกัดความ: การครองตนและประพฤติปฏิบัติถูกต้องเหมาะสมทั้งตามหลักกฎหมายและคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนหลักแนวทางในวิชาชีพของตนโดยมุ่งประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ทั้งนี้เพื่อธำรงรักษาศักดิ์ศรีแห่งอาชีพข้าราชการ อีกทั้งเพื่อเป็นกำลังสำคัญในการสนับสนุนผลักดันให้ภารกิจหลักภาครัฐบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ จริยธรรม(Integrity-ING) ความร่วมแรงร่วมใจ(Teamwork-TW) คำจำกัดความ: สมรรถนะนี้เน้นที่ 1) ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งในทีมงาน หน่วยงาน หรือองค์กร โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิกในทีม มิใช่ในฐานะหัวหน้าทีม และ 2) ความสามารถในการสร้างและดำรงรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม

  20. แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ ๑: ข้อมูลของผู้รับการประเมิน รอบการประเมิน  รอบที่ ๑๑ ตุลาคม ถึง ๓๑ มีนาคม  รอบที่ ๒ ๑ เมษายน ถึง ๓๐ กันยายน ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) ตำแหน่ง ประเภทตำแหน่ง ระดับตำแหน่ง สังกัด ชื่อผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) ตำแหน่ง คำชี้แจง แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการนี้มีด้วยกัน ๓ หน้า ประกอบด้วย ส่วนที่ ๑: ข้อมูลของผู้รับการประเมิน เพื่อระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้รับการประเมิน ส่วนที่ ๒: สรุปผลการประเมิน ใช้เพื่อกรอกค่าคะแนนการประเมินในองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ และน้ำหนักของทั้งสององค์ประกอบในแบบสรุปส่วนที่ ๒ นี้ ยังใช้สำหรับคำนวณคะแนนผลการปฏิบัติราชการรวมด้วย - สำหรับคะแนนองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้นำมาจากแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยให้แนบท้ายแบบสรุปฉบับนี้ - สำหรับคะแนนองค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้นำมาจากแบบประเมินสมรรถนะ โดยให้แนบท้ายแบบสรุปฉบับนี้ ส่วนที่ ๓: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ ๔:การรับทราบผลการประเมิน ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมิน ส่วนที่ ๕: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปกลั่นกรองผลการประเมิน แผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการ และให้ความเห็น คำว่า “ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป” สำหรับผู้ประเมินตามข้อ ๒ (๙) หมายถึง หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดผู้บังคับบัญชาของผู้รับการประเมิน

  21. ส่วนที่ ๒: การสรุปผลการประเมิน ๗๐% ๓๐% ระดับผลการประเมิน ดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ส่วนที่ ๓: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล

  22. ส่วนที่ ๔: การรับทราบผลการประเมิน ส่วนที่ ๕: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป

  23. แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน รอบการประเมิน รอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมศักดิ์ สุขใจ ลงนาม ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมหวัง ดีเสมอ ลงนาม ตัวอย่าง

  24. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะแบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ รอบการประเมิน รอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมศักดิ์ สุขใจ ลงนาม ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมหวัง ดีเสมอ ลงนาม ตัวอย่าง

  25. การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาคการประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค 1. ผู้ว่าราชการจังหวัดสามารถกำหนด/ปรับเปลี่ยนรูปแบบของระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการได้ ผู้ว่าราชการจังหวัดฯ กรม 1 กรม 2 หน.ส่วนราชการของหน่วยงานในภูมิภาค หน.ส่วนราชการของหน่วยงานในภูมิภาค หน่วยงานในส่วนกลาง ข้าราชการในระดับอำนวยการ หน่วยงานในส่วนกลาง ข้าราชการของกรมที่ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิภาค ข้าราชการของกรมที่ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิภาค ข้าราชการ ผวจ.มีอำนาจกำหนดรูปแบบการประเมิน

  26. 1. การกำหนด / ปรับเปลี่ยนรูปแบบของระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด อาจทำได้ดังนี้ - ให้แต่ละหน่วยงานปฏิบัติตามแนวทางของกรมต้นสังกัด หรือ - กำหนดรูปแบบของระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการขึ้นเป็นการเฉพาะของจังหวัด การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค(ต่อ)

  27. การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค(ต่อ)การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค(ต่อ) 2. หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่ประมวลตัวชี้วัดและเป้าหมายซึ่งถ่ายทอดมาจากส่วนราชการต้นสังกัด และจากผู้ว่าราชการจังหวัด กำหนดเป็นตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายของตนและกำหนดเป้าหมายของตน และกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติราชการของผู้ใต้บังคับบัญชา กรม ผู้ว่าราชการจังหวัดฯ หน.ส่วนราชการของหน่วยงานในภูมิภาค หน่วยงานในส่วนกลาง ข้าราชการในระดับอำนวยการ ข้าราชการของกรมที่ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิภาค ข้าราชการ

  28. กลไกสนับสนุนความโปร่งใส เป็นธรรม : คณะกรรมการกลั่นกรอง หน้าที่ : พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรมของ การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัด องค์ประกอบ : คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม • รอง หน.สรก. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก.ในส่วนราชการ ตามที่ หน.สรก.เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า ๔ คน กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ คณะกรรมการระดับจังหวัด • รอง ผวจ. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก.ในจังหวัด ตามที่ ผวจ.เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า ๔ คน กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ

  29. การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม ว 20 ลว 3 ก.ย. 2553 ผู้มีหน้าที่ประเมิน

  30. การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม ว 20 ลว 3 ก.ย. 2553 (ต่อ) ผู้มีหน้าที่ประเมิน

  31. ถาม-ตอบ

  32. หลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนเงินเดือน ตาม ว28/2552 สาระสำคัญ วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน ผู้บริหารวงเงินงบประมาณ การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุด

  33. แผนดำเนินการ • แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกิน ร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ • ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้) • ผลการประเมิน ต้องปรับปรุง<ร้อยละ 60 ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน” • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน • ประกาศร้อยละ/สั่งเลื่อนเงินเดือน ยกเว้น ผู้ที่เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. /ผู้เสียชีวิต(ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนให้มีผลวันที่เสียชีวิต • แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะบุคคล/แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน ส่วนราชการ/จังหวัด : คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย. ไม่ได้) ประกาศร้อยละ/ออกคำสั่ง/แจ้งผลเลื่อนเงินเดือน พิจารณาผลคะแนนกับ วงเงินงบประมาณ คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน 31 มี.ค./30 ก.ย. 1 มี.ค./ 1 ก.ย. 1 เม.ย./1 ต.ค. การเจ้าหน้าที่เสนอหัวหน้าส่วนราชการ/ผู้ว่าราชการจังหวัด • ผู้บริหารวงเงิน • ฐานในการคำนวณ ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือน

  34. วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือนวงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน แยกวงเงินเลื่อน บริหารส่วนกลาง กับ บริหารส่วนภูมิภาค แยกวงเงิน อย่างน้อย 3 กลุ่ม คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน ส่วนราชการตัดยอดจำนวนคนและจำนวนเงิน ขรก. ในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการ • โดยเลื่อนเงินเดือนภายในกลุ่มก่อน หากเหลือสามารถเกลี่ยได้ • กลุ่มที่ 1 ประเภทบริหาร • กลุ่มที่ 2 ประเภทอำนวยการ • กลุ่มที่ 3 ประเภทวิชาการ และทั่วไป • ส่วนราชการ/จังหวัด: คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ • ครั้งที่ 1 (เลื่อน ง/ด 1 เม.ย.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณวันที่ 1 มี.ค. • ครั้งที่ 2 (เลื่อนเงินเดือน 1 ต.ค.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณ วันที่ 1 ก.ย. • (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย.ไม่ได้) ส่วนกลาง ภูมิภาค • บริหารต้น-สูง • อำนวยการต้น-สูง • วิชาการ • ทั่วไป • วิชาการ • ทั่วไป • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • เชี่ยวชาญ • ทรงคุณวุฒิ • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ทักษะพิเศษ

  35. ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ปลัดกระทรวง นายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี บริหารวงเงิน บริหารวงเงิน รองปลัด 1 รองปลัด 2 รองปลัด 3 .... เอกอัครราชทูต/อัครราชทูต/กงสุลใหญ่ ผู้ตรวจ กระทรวง ผู้ว่าฯ/รองผู้ว่าฯ ปลัด กระทรวง อธิบดี 1 อธิบดี 2 อธิบดี 3 ปลัดฯ+รองปลัดฯ+อธิบดี บริหารวงเงิน รองอธิบดี 1 กรมที่ 1 รองอธิบดี 2 กรมที่ 1 รองอธิบดี 3 กรมที่ 1 รองอธิบดี 4 กรมที่ 1 อธิบดี + รองอธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด บริหารวงเงิน บริหารวงเงิน รองอธิบดี 1 กรมที่ 2 รองอธิบดี 2 กรมที่ 2 รองอธิบดี 3 กรมที่ 2 รองอธิบดี 4 กรมที่ 2 • วิชาการ • -ทรงคุณวุฒิ • -เชี่ยวชาญ • -ชำนาญการพิเศษ • -ชำนาญการ • -ปฏิบัติการ • ทั่วไป • -ทักษะพิเศษ • -อาวุโส • -ชำนาญงาน • -ปฏิบัติงาน • อำนวยการต้น • อำนวยการสูง รองอธิบดี... รองอธิบดี... • วิชาการ • -ชำนาญการพิเศษ • -ชำนาญการ • -ปฏิบัติการ • ทั่วไป • -อาวุโส • -ชำนาญงาน • -ปฏิบัติงาน รองอธิบดี... รองอธิบดี... ผู้บริหารวงเงิน อาจจัดสรรวงเงินให้หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม หรือหัวหน้าหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค

  36. ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร

  37. ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร (ต่อ) ไม่ได้จัดสรรวงเงินลงระดับอำเภอ

  38. การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 พิจารณาผลคะแนนกับวงเงินงบประมาณ แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้ ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง” ต่ำกว่าร้อยละ 60 “ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน” เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน รวมทั้งส่วนราชการ เลื่อนได้ไม่เกิน วงเงินการเลื่อนเงินเดือนที่ได้รับการจัดสรร

  39. การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ฐานการคำนวณคืออะไร ตัวเลขที่นำไปใช้ในการคิดคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการแต่ละประเภท ตำแหน่ง สายงาน และระดับ ก.พ. กำหนด ท้าย ว28/2552 ตัวอย่าง การใช้ฐานในการคำนวณ

  40. การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุดการจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุด ผู้ได้รับเงินเดือนสูงสุด/ใกล้สูงสุด ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษคิดตามผลการปฏิบัติงาน ตัวอย่าง 1 3 4 1 36,020 เพดานเงินเดือนของแต่ละระดับ ชำนาญการ - - 1 3 4 36,020 x = 2 ฐานฯ * 25,190 เงินเดือนก่อนเลื่อน % เลื่อน ผลคำนวณ เลื่อนเงินเดือน รับค่าตอบแทน 30,600 25,180 Midpoint 36,020 3 % 918 0 918 20,350 นาย ก. 5 3 4 35,560 3 % 918 460 458 12,530 นาย ข.

  41. ตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อน สำนักที่ 1 สำนักที่ 2 สำนักที่ 3 จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % 1 96-100 5 2 90-100 4.8 14 90-100 3.2 ดีเด่น 2 91-95 4.5 16 80-89 4.2 22 80-89 3 ดีมาก 20 81-90 3.2 22 70-79 3 10 70-79 2.9 ดี 7 60-80 2.8 8 60-69 2.6 3 60-69 2.6 พอใช้ 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 ปรับปรุง 30 48 49

  42. ตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อน สำนัก ก. สำนัก ข. จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % 2 90-100 4.3-4.8 14 90-100 2.9-3.2 ดีเด่น 16 80-89 3.1-4.2 22 80-89 2.5-2.8 ดีมาก 22 70-79 2.6-3.0 10 70-79 2.1-2.4 ดี 8 60-69 2.2-2.5 3 60-69 1.8-2.0 พอใช้ 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 ปรับปรุง 48 49

  43. การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประกาศร้อยละการเลื่อน • คำนวณ % การเลื่อนภายในกรอบวงเงินการเลื่อนแล้วประกาศ % การเลื่อนในแต่ละระดับผลการประเมิน • แต่ละสำนัก/กอง ไม่เท่ากันก็ได้ • ประกาศอย่างช้าพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน ออกคำสั่ง • ออกคำสั่งเลื่อน • 1 เม.ย. • 1 ต.ค. ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือน • ส่วนกลาง = อธิบดี • ส่วนภูมิภาค = ผู้ว่าฯ ยกเว้น ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. ผู้เสียชีวิต (ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนวันเสียชีวิต

  44. การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) การแจ้งผลการเลื่อน ตัวอย่าง นาย ก. ตำแหน่ง .................................ระดับ......... สำนักกอง.................................................. เงินเดือนก่อนเลื่อน................................... ฐานในการคำนวณ.................................... ร้อยละการเลื่อน........................................ จำนวนเงินที่ได้เลื่อน................................. เงินเดือนหลังเลื่อน.................................... • แจ้งเป็นข้อมูลเฉพาะแต่ละบุคคล • แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อน

  45. การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) • ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งคณะกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา • หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนเงินเดือนในรอบการประเมินที่ถูกลงโทษ • ข้าราชการที่ถูกรอฯ ไว้ก่อนกฎ ก.พ.นี้ ให้เลื่อนตามผลงานที่ประเมินไว้ ลาศึกษา/ฝึกอบรม : จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน ผู้ไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ : เมื่อกลับมาปฏิบัติงานให้สั่งเลื่อนเงินเดือนในอัตราไม่เกินร้อยละ 3 ของเงินเดือนข้าราชการผู้นั้น เสียชีวิต : จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน และให้เลื่อนเงินเดือนได้ในวันเสียชีวิต เกษียณอายุราชการ : เลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 ก.ย. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน ไม่ลา/สาย เกินจำนวนครั้งที่กำหนด ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท/คลอดบุตร/ป่วยจำเป็น/ป่วยประสบอันตราย/พักผ่อน/ตรวจเลือก/เตรียมพล/ทำงานองค์การระหว่างประเทศ

  46. ตัวอย่าง การคำนวณเลื่อนเงินเดือน เงินเดือน ต่างฐานฯ/ผลประเมิน เท่า เงินเดือน ,ฐานฯ ต่างผลประเมิน เท่า เงินเดือน , ฐานฯ ,ผลประเมิน ต่าง

  47. ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน

  48. ถาม-ตอบ

  49. ขอบคุณครับ

More Related