1 / 32

ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี

The World Bank. ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี. 5 มกราคม 2555 Grand Milliniem Hotel. ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับสำนักงาน ( firm level). ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับงานสอบบัญชี ( engagement level).

jethro
Download Presentation

ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The World Bank ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี 5 มกราคม 2555 Grand Milliniem Hotel

  2. ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพในระดับสำนักงาน (firm level) ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี(engagement level)

  3. ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพในระดับสำนักงาน (firm level) 5 มกราคม 2555

  4. agenda • แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี • ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม • ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี

  5. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีแนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี

  6. 1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี สำนักงานใช้ระบบ Risk Based Approach ในการประเมินสำนักงานสอบบัญชี โดยมีปัจจัยพิจารณา 2 ปัจจัย 1. Impact to Capital Market (market cap รวมของ listed companies ของ แต่ละสำนักงานสอบบัญชี) 2. Compliance with ISQC 1 2.1 Policies and Procedures 2.2 Practices

  7. 1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี • Impact to Capital Market

  8. 1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี 2. Compliance ISQC 1 (6 elements)

  9. 1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี การให้น้ำหนักแต่ละ ISQC 1 elements

  10. 1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี การให้คะแนน compliance ภาพรวม

  11. 1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี Risk Based Approach เพื่อพิจารณาเข้าตรวจในรอบถัดไป Priority on high impact + not comply RBA นี้จะเริ่มใช้ตั้งแต่ 1 ม.ค. 56 (Second Cycle)

  12. 2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม

  13. 2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม

  14. 2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม

  15. 2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม

  16. 2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม ผลจากการตรวจสอบเมื่อนำมาเข้าตาราง RBA แสดงผลความถี่ในการตรวจสอบรอบถัดไปดังนี้

  17. 3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี

  18. 1. Leadership responsibility • หัวหน้าสำนักงานไม่ได้กำหนดนโยบาย หรือสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพของงาน เหนือกว่าธุรกิจเช่น การประเมินผลยังให้ความสำคัญเรื่องการรักษา recovery rate หรือจากการสัมภาษณ์พนักงานระดับสูงยังพบว่าไม่กล้า charge time sheet ตามจริง Ref : ISQC 1 Para 18

  19. 2. Ethical requirement • ไม่มีการบันทึกการสอบถามข้อมูล non-audit service กับบริษัทในเครือ จึงไม่สามารถสอบทานได้ว่าได้พิจารณา conflict of interest แล้ว • อนุญาตให้พนักงานรับงานสอบบัญชีในนามส่วนตัวได้ โดยไม่พบการสอบทาน conflict of interest ที่อาจเกิดจากการรับงานส่วนตัวดังกล่าว และไม่มีการตรวจสอบว่า พนักงานปฏิบัติตามข้อกำหนดของสำนักงาน และยังคงทำงานให้สำนักงานอย่างมีคุณภาพหรือไม่ Ref : ISQC 1 Para 21 - 23

  20. 2. Ethical requirement • ไม่มีการกำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อขจัดความไม่เป็นอิสระกรณีรับงานสอบบัญชีของลูกค้ารายเดิมติดต่อกันหลายปี (กรณีบริษัทจำกัด) Ref : ISQC 1 Para 25

  21. 3. Client acceptance and continuance • การพิจารณากำหนดค่า audit fee ในขั้นตอนการรับงานไม่เหมาะสม เช่น ไม่พิจารณา budget hour และ actual hour ปีก่อนหรือให้น้ำหนักกับค่าสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีคนก่อนมากกว่าการคำนึงถึงปริมาณงานที่ต้องทำเพื่อให้มีคุณภาพ Ref: ISQC 1 Para 26 (a)

  22. 3. Client acceptance and continuance • การจัดทำเอกสารบันทึกการประเมินความเสี่ยงที่สำคัญไม่ชัดเจนเพียงพอ เช่น ใช้ดุลยพินิจกำหนดขั้นความเสี่ยงประเมินความเสี่ยงไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่พบ ไม่บันทึกรายละเอียดในการประเมินและการจัดการกับความเสี่ยง หรือใช้ดุลยพินิจปรับลดความเสี่ยงลงได้ และตัดสินใจรับงานได้ก่อนที่จะได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ จึงอาจทำให้รับงานที่มีความเสี่ยงสูงเกินกว่าระดับที่กำหนด Ref: ISQC 1 Para 27

  23. 3. Client acceptance and continuance • ออก engagement letter ก่อนที่จะมีการส่งจดหมายไปที่ผู้สอบบัญชีเดิม (มีปัญหาในทางปฏิบัติที่ผู้สอบบัญชีคนก่อนไม่ให้ความร่วมมือ) Ref: ISQC 1 Para 27 (a) • ไม่ให้ความสำคัญในการตรวจสอบเรื่องความเสี่ยงต่าง ๆ ของลูกค้า รวมถึง การประเมินความเป็นอิสระของพนักงานในการรับงานต่อเนื่อง Ref: ISQC 1 Para 27

  24. 3. Client acceptance and continuance • ไม่มีแนวปฏิบัติในกรณีที่ตอบรับงานที่มีความเสี่ยงสูงกว่าปกติ หรือ ให้ผู้ที่มีอำนาจสูงกว่าอนุมัติและพบว่ามีบริษัทที่ผลประเมินความเสี่ยงได้ระดับสูงกว่าปกติ แต่ไม่พบการบันทึกเหตุผลในการรับงานสอบบัญชี Ref: ISQC 1 Para 27 (c)

  25. 4. Human resource • ไม่มีข้อกำหนดให้พนักงานต้องลงเวลาการทำงาน ส่งผลให้ไม่มีข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประกอบการจัดสรรทรัพยากรบุคคลต่อไปในอนาคต Ref : ISQC 1, Para 29, 31

  26. 4. Human resource • ไม่กำหนดปัจจัยและเกณฑ์การวัดผลที่ใช้ในการประเมินผลพนักงานและแจ้งให้พนักงานรับทราบ • ไม่พบ KPI เกี่ยวกับเรื่องคุณภาพงาน หรือให้น้ำหนักกับปัจจัยด้านคุณภาพน้อย และไม่นำข้อบกพร่องด้านคุณภาพงานจากการทำ monitoring มาใช้ในการประเมินผลงานประจำปี Ref : ISQC 1, Para 29, 31

  27. 5. Engagement performance • ไม่มี audit manual มีแต่ audit program ทำให้การทำงานของทีมตรวจสอบไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • Manual และ audit program ที่ใช้ยังไม่เพียงพอ/ไม่เหมาะสม เช่น ไม่มีแนวทางการกำหนดขอบเขตการตรวจสอบ ไม่กำหนดวิธีการคำนวณ materiality ในสถานการณ์ต่างๆ ขาด audit program ในการตรวจสอบบางเรื่องผลของการประเมินความเสี่ยงจากระบบการควบคุมภายใน ไม่สัมพันธ์กับขอบเขตในการตรวจสอบเนื้อหาสาระ Ref: ISQC 1 Para 32

  28. 5. Engagement performance • ไม่ปรับปรุงคู่มือ แนวการสอบบัญชี หรือ disclosure checklist ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และขาดการ update อย่างสม่ำเสมอ Ref: ISQC 1 Para 32

  29. 5. Engagement performance • การสอบทานงานโดย engagement/signing partner และการปรึกษาหารือ ยังไม่เพียงพอ • การปรึกษาหารือไม่เพียงพอและเหมาะสม เช่น ไม่พบการบันทึกข้อสรุปและความเห็นในรายงาน การประชุมหารือระหว่างทีมตรวจสอบ กับ technical committee ในกระดาษทำการ Ref: ISQC 1 Para 32-34

  30. 5. Engagement performance • Engagement partner และ EQCR ไม่มีเวลาเพียงพอ (low involvement) หรือ EQCR ไม่ลงลายมือชื่อในกระดาษทำการที่สำคัญ Ref : ISQC 1 Para 36 • ไม่มีการประเมินความรู้ความสามารถของ engagement Partner EQCR และผู้เชี่ยวชาญที่มีส่วนร่วมใน engagement Ref : ISQC 1 Para 32, 34, 35, 36, 37, 39

  31. 6. Monitoring • monitoring ในระดับ firm level ยังไม่ครบทุกองค์ประกอบตาม ISQC1 เช่น global firm จะทำ monitoring ปีละ 2 เรื่อง หมุนเวียนไป • แนวปฏิบัติของ monitoring ในระดับ firm ยังไม่ได้ระบุวิธีการทดสอบในเรื่องที่สำคัญบางเรื่อง • เกณฑ์ในการเลือกงานสอบบัญชี (engagement level) เพื่อติดตามผลยังไม่ครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญหรือขอบเขตและวิธีการเลือก engagement ไม่มีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม Ref : ISQC 1, Para 48

  32. 6. Monitoring • ไม่มีการจัดทำกระดาษทำการประกอบแบบสอบถามการติดตามผล หรือบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อสังเกตที่พบ และ feedback Ref: ISQC 1, Para 49-53 and 57

More Related