1 / 63

Laboratory Safety

Pharmaceutical Science Students, Faculty of Pharmaceutical Sciences, NU, November 7, 2008. Laboratory Safety. วิสาข์ สุพรรณไพบูลย์ , Ph.D. ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. Laboratory Safety.

jewel
Download Presentation

Laboratory Safety

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Pharmaceutical Science Students, Faculty of Pharmaceutical Sciences, NU, November 7, 2008 Laboratory Safety วิสาข์ สุพรรณไพบูลย์, Ph.D. ภาควิชาชีวเคมีคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

  2. Laboratory Safety ตระหนักถึงความปลอดภัยจากการปฏิบัติการหรือทำงานในห้องปฏิบัติการ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นอันตรายต่างๆ รวมถึงของเสียที่เกิดขึ้นจากห้องปฏิบัติการ ได้แก่ • สารเคมี • กัมมันตภาพรังสี • ชีววัตถุ • สิ่งอันตรายอื่น ๆ

  3. Laboratory Safety วัตถุดิบ ของเสีย

  4. Laboratory Safety Chemical Safety Biological Safety Radiation Safety Electrical Safety etc

  5. Chemical Safety Understanding of chemicals Good chemical storages Understand reactions of chemicals in the experiments Safety instruments and personal protective equipments (PPE) Safety regulations and practices Waste management Risk assessment and management

  6. Understanding of chemicals ประเภทและสมบัติของสารเคมี ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลอง ความเป็นพิษต่อสุขภาพของสารเคมี วิธีหรือมาตรการการป้องกันการได้รับ เข้าสู่ร่างกายและอันตรายจากสารเคมี การอยู่ในสิ่งแวดล้อมของสารพิษ และความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม การจัดการของเสีย

  7. Understanding of chemicals ประเภทและสมบัติของสารเคมี 1. สารที่ก่อให้เกิดการระเบิดได้ (explosives) 2. ก๊าซ 3. ของเหลวไวไฟ 4. ของแข็งไวไฟ 5. สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ 6. สารพิษ และสารที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อ 7. สารกัมมันตรังสี 8. สารที่ทำให้เกิดการกัดกร่อน 9. สารหรือวัตถุอื่นที่อาจเป็นอันตรายได้

  8. Understanding of chemicals ระเบิด ความร้อน Reaction + B A สารพิษ/ก๊าซพิษ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลอง

  9. Understanding of chemicals ความเป็นพิษต่อสุขภาพของสารเคมี ระดับความเป็นพิษ Toxicokinetics (ADME) (Absorption, Distribution, Metabolism และ Excretion) อวัยวะหรือระบบของร่างกายที่ตอบสนองต่อความเป็นพิษ แนวทางการรักษาอาการความเป็นพิษ

  10. Understanding of chemicals วิธีหรือมาตรการการป้องกันการได้รับ เข้าสู่ร่างกายและอันตรายจากสารเคมี การประเมินความเสี่ยงในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีนั้น การออกระเบียบและข้อปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ถูกต้องและเหมะสม

  11. Understanding of chemicals การอยู่ในสิ่งแวดล้อมของสารพิษ และความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ความคงทนในสภาพแวดล้อม รูปของสารเคมีที่เปลี่ยนแปลงไปในสภาพแวดล้อมต่างๆ ความเป็นพิษต่อระบบนิเวศ

  12. Understanding of chemicals การจัดการของเสียที่เกิดขึ้น การรวบรวมของเสีย การจัดเก็บของเสีย การกำจัด

  13. Understanding of chemicals เราสามารถรู้จักและทำความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีได้อย่างไร ฉลาก MSDS แหล่งข้อมูลอ้างอิงอื่นๆ ได้แก่ รายงานหนังสืองานวิจัย

  14. Understanding of chemicals ฉลาก

  15. Understanding of chemicals ฉลากแสดงระดับความเป็นอันตรายของ Ethanol

  16. Understanding of chemicals สัญญลักษณ์ของสารเคมี NFPA

  17. Understanding of chemicals สัญญลักษณ์ของสารเคมี NFPA

  18. Understanding of chemicals สัญญลักษณ์ของสารเคมี EEC

  19. Understanding of chemicals

  20. Understanding of chemicals แหล่งข้อมูลอ้างอิงอื่นๆ

  21. Understanding of chemicals

  22. Understanding of chemicals

  23. Understanding of chemicals

  24. Understanding of chemicals

  25. Chemical storage การจัดเก็บ แยกตามสถานะ แยกตามประเภทและสมบัติ การควบคุมสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่ออันตราย

  26. Chemical storage สถานที่ที่ใช้ในการจัดเก็บควรมีลักษณะดังนี้ มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี ไม่โดนแสงโดยตรงและไม่ร้อนเกินไป แยกบริเวณการเก็บโดยใช้ระหัสสี ชั้นวางต้องติดตั้งหรือประกอบอย่างแน่นหนาและอยู่ชิดผนัง ห้องจัดเก็บมีประตูปิดมิดชิด ต้องมีอุปกรณ์ดับเพลิง /ป้องกันอยู่ใกล้ห้องเก็บสารเคมี

  27. Chemical storage การจัดเก็บ

  28. Chemical storage การจัดเก็บ

  29. Chemical storage

  30. Chemical storage ถังก๊าซที่อัดจากความดันสูง ติดฉลากบอกชื่อ ยึดถังแก๊สกับผนังด้วยสายหนังหรือโซ่คล้อง กรณีใช้ชั่วคราว หลังใช้ให้ปิดวาล์ว ไล่ความดันและ ถอดตัวความคุมความดันและปิดฝาครอบ แยกถังแก๊สออกจากที่เก็บสารเคมีอื่น จัดแยกตามประเภท แยกถังเปล่าออก ทราบคุณสมบัติกายภาพ กลิ่น สี สารเคมีที่เป็นก๊าซ

  31. Understand reactions of chemicals in the experiments ระเบิด ความร้อน Reaction + B A สารพิษ/ก๊าซพิษ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลอง + X, Y, Z ..

  32. Safety instruments and personal protective equipments (PPE) Safety instruments ตู้ดูดควัน ( Fume Hood) ตู้ปลอดเชื้อ ( Laminar Flow) อ่างล้างตา (Eye Wash) ฝักบัวนิรภัย ( Emergency Shower)

  33. Safety instruments and personal protective equipments (PPE) Personal protective equipments (PPE) แว่นตานิรภัย ( Chemical Goggles) หน้ากาก (Face Protection) หน้ากากกรองสารเคมี (Chemical Cartridge Respirator) ถุงมือ (Gloves) ชุดปฐมพยาบาลเบื่องต้น (First Aid Kits) เครื่องช่วยหายใจ ( Respirator)

  34. Safety instruments and personal protective equipments (PPE) Personal protective equipments (PPE)

  35. Safety regulations and practices มาตรการควบคุม มาตรการควบคุมสำหรับสารเคมีที่มีอันตรายต่อสุขภาพ มาตรการควบคุมสำหรับสารเคมีที่ติดไฟได้ ทำปฏิกิริยาอันตรายหรือระเบิดได้ มาตรการควบคุมสำหรับการเก็บสารเคมีอันตราย มาตรการควบคุมสำหรับการขนส่งสารเคมี มาตรการควบคุมสำหรับการกำจัดและบำบัดสารเคมี

  36. Safety regulations and practices ข้อพึงปฏิบัติทั่วไปความปลอดภัยในการใช้สารเคมี ก่อนปฏิบัติงานต้องทราบถึงชนิดของผลิตภัณฑ์ และอันตราย ก่อนขนย้ายผลิตภัณฑ์ต้องสังเกตว่าหีบห่อไม่แตก หลีกเลี่ยงการสัมผัสผลิตภัณฑ์โดยตรง ให้สวมเครื่องป้องกัน ห้ามรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม ในขณะที่ปฏิบัติงาน ขณะปฏิบัติงานห้ามใช้มือขยี้ตา จนกว่าจะล้างมือให้สะอาด ก่อนรับประทานอาหาร ต้องถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย และล้างมือให้สะอาด

  37. Safety regulations and practices ข้อพึงปฏิบัติทั่วไปความปลอดภัยในการใช้สารเคมี ห้ามผู้ที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เคมี หากเกิดอุบัติเหตุ ต้องรีบรายงานผู้บังคับบัญชาที่รับผิดชอบทันที ในขณะปฏิบัติงานหากพบว่า มีการเจ็บป่วย ให้หยุดปฏิบัติงานทันที พร้อมทั้งรายงานให้ผู้บังคับบัญชาผู้รับผิดชอบทราบ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ใช้แล้วต้องทำความสะอาดหรือทำลายทิ้ง ตามคำแนะนำที่กำหนด เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแต่ละครั้ง ต้องล้างมือ อาบน้ำและ ผลัดเปลี่ยนเสื้อผ้าที่สะอาด

  38. Waste management ขั้นตอนการจัดการ การรวบรวมของเสีย (waste collection) การบำบัดของเสียเบื้องต้น การทำให้หมดความเป็นพิษ  ทิ้งได้ ลดความเป็นพิษ  รวบรวมเพื่อรอการกำจัด ทำให้เสถียรมากขึ้น  รวบรวมเพื่อรอการกำจัด การบำบัด การกำจัด

  39. Waste management การรวบรวมของเสีย การรวบรวมและเก็บต้องคำนึงถึงการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ของของเสีย การแยกประเภทของของเสีย ภาชนะเก็บเหมาะสม การระบุชนิดและปริมาณของของเสีย ปริมาณที่ยอมการเก็บ สถานที่เก็บ การควบคุมสภาพแวดล้อม ระเบียบการปฏิบัติ

  40. Waste management แนวทางการจัดการเพิ่มเติม การลดปริมาณของเสีย (waste minimization) ลดการใช้สารเคมีอันตราย ปรับเปลี่ยนวิธีวิเคราะห์ ใช้เทคนิค micro scale analysis Reuse and recycle การเก็บต้องคำนึงถึงการเข้ากันไม่ได้ (incompatibility) ของของเสีย

  41. Risk assessment and management Risk assessment

  42. Risk assessment and management Risk assessment Routes of exposure

  43. Factors influence to chemical toxicity อันตรายจากสารเคมีขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายปัจจัย ได้แก่ Chemical properties Chemical reactions (in experiments) Toxicity Route of exposure Frequency of exposure Susceptibility Exposure to other chemicals

  44. Risk assessment and management Risk assessment Metabolism

  45. Risk assessment and management Risk assessment

  46. Risk assessment and management Risk assessment Multi-exposure

  47. Risk assessment and management Risk assessment Biomonitoring • เป็นการตรวจวัดสารเคมี, สารเมตาโบไลต์ (สารที่ถูกเปลี่ยนจากกระบวนการเมตาบอลิซึม)หรือองค์ประกอบทางเคมีในร่างกาย เพื่อการประเมินการได้รับและผลจากการได้รับสารเคมีนั้น สิ่งที่ใช้ในการตรวจวัด เช่น • ปัสสาวะ เลือด • อากาศที่หายใจออก น้ำเหลือง • อื่นๆ

  48. Risk assessment and management Risk assessment Biomonitoring

  49. Risk assessment and management Risk assessment Element of risk assessment and risk management. (R C James et al, 2000)

  50. Risk assessment and management Risk assessment Element of risk assessment and risk management. (R C James et al, 2000)

More Related