1 / 14

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฎ เชียงราย. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. หลักการและแนวคิด

joan-barr
Download Presentation

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย

  2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หลักการและแนวคิด เป้าหมายของการจัดการศึกษาจะต้องมุ่งสร้างสรรค์สังคมให้มีลักษณะที่เอื้อต่อกาพัฒนาประเทศชาติโดยรวม มุ่งสร้าง “คน” หรือ “ผู้เรียน” ซึ่งเป็นผลผิตโดยตรง ให้มีคุณลักษณะ มีศักยภาพ และความสามารถที่จะพัฒนาตนเองและสังคมไปสู่ความสำเร็จได้

  3. 1. ความเป็นมาของแนวคิด Carl R.Rogersคือ ผู้คิดค้นและใช้คำว่า “เด็กเป็นศูนย์กลาง” Child-centredเป็นครั้แรก ในวิธีการนี้ ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริมให้มีความรับผิดชอบและมีส่วนร่วมเต็มที่ต่อการเรียนรู้ของตน

  4. ลักษณะความแตกต่างของการจัดกระบวนการเรียนรู้ลักษณะความแตกต่างของการจัดกระบวนการเรียนรู้ ประเด็น การเรียนรู้แบบเดิม การเรียนรู้แบบใหม่ 1. หน่วยการเรียนรู้ 2. จุดเน้น 3. การพัฒนาประสบการณ์ 4. บทบาทผู้เรียน 5. บทบาทของครู 6. การสื่อสาร 7. บรรยายกาศ 8. วิธีการเรียนรู้ 9. ผู้รับผิดชอบต่อผลการเรียน 10. ผู้ได้รับการตอบสนองความต้องการ 11. การถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่การทำงาน/ชีวิตจริง 12. การประเมิน -คนเดียว -เนื้อหา -สติปัญญา -ฟัง จด จำ สอบ ลืม -สอน บอก บรรยาย สั่ง ประเมิน -ทางเดียว -เป็นทางการ ปิดกั้น ย้ำสถานภาพครู นักเรียน -ครูตั้งโจทย์ คำถามที่ดีที่สุด -ครู -ครู -น้อยและไม่แน่นอน -เนื้อหา -กลุ่ม/เดี่ยว -เนื้อหา/กระบวนการ -ร่างกาย อารมณ์ ปัญญา สังคม/รู้จักตนเอง ค่านิยม ความเชื่อ -มีส่วนร่วม ปฏิสัมพันธ์ ค้นคว้า สรุปด้วยตนเอง กระตือรือร้น -อำนวยความสะดวก เป็นแหล่งความรู้ สนับสนุน กระตุ้น -สองทาง -ไม่เป็นทางการ ผ่อนคลาย สนุก ไม่ย้ำสถานภาพ -หาทางกระตุ้น สนับสนุนกลุ่มให้คิดคำถามที่ลึกซึ้งและหาทางตอบคำถามนั้น -ผู้เรียนและครู -ผู้เรียน -มาก -ผลงานและกระบวนการ

  5. หลักการพื้นฐานของแนวคิด “ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1. ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน 2. เนื้อหาวิชามีความสำคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ 3. การเรียนรู้จะประสบผลสำเร็จหากผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 4. สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้เรียน 5. ครู คือ ผู้อำนวยความสะดวกและเป็นแหล่งความรู้ 6. ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมที่แตกต่างจากเดิม 7. การศึกษา คือ การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนหลายๆด้านพร้อมกันไป

  6. หลักการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1. เป็นกระบวนการที่ควรเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวา 2. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากแหล่งต่างๆกัน 3. การเรียนรู้ที่ดีจะต้องเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก การสร้างความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง 4. การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญ 5. การเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ผู้เรียน

  7. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบที่ได้รับความสนใจ และง่ายต่อการนำไปปฏิบัติ คือ CIPPA Model ซึ่งมีรายละเอียดของรูปแบบ ดังนี้ C - Construct I - Interaction P - Participation P - Process and Product A - Application

  8. ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวบ่งชี้การเรียนของผู้เรียน 1. ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจนพบความถนัดและวิธีการของตน 3. ผู้เรียนทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม 4. ผู้เรียนฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ 5. ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นพบคำตอบ 6. ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้าด้วยตนเอง 7. ผู้เรียนได้เลือกทำกิจกรรมตามความสามารถ 8. ผู้เรียนฝึกตนเองให้มีวินัย 9. ผู้เรียนฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น

  9. ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวบ่งชี้การสอนของครู 1. ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ 2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า 3. ครูเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ ให้ผู้เรียนได้แสดงออก 5. ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกคิด

  10. ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวบ่งชี้การสอนของครู 6. ครูส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดจากกลุ่ม 7. ครูใช้สื่อการสอนเพื่อฝึกการคิด 8. ครูใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อมโยง ชีวิตจริง 9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทตามวิธีวัฒนธรรมไทย 10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน

  11. หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนหลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ 2. ยึดกลุ่มเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญ 3. ยึดการค้นพบด้วยตนเองเป็นวิธีการสำคัญ 4. เน้นกระบวนการ 5. เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือใช้ในชีวิตประจำวัน

  12. รูปแบบหรือระดับของการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหรือระดับของการจัดการเรียนการสอน รูปแบบที่ 1 Student-centered class ครูเตรียมเนื้อหา วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อทั้งหมด รูปแบบที่ 2 Learner-based teaching ครูกระตุ้นหรือมอบหมายให้ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเรื่องที่จะเรียน รูปแบบที่ 3 Learner independence / Self-directed learning ผู้เรียนเป็นอิสระจากชั้น สามารถศึกษาค้นคว้าจากสื่อที่จัดไว้ในศูนย์การเรียนด้วยตนเอง

  13. บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอน 1. บทบาทด้านการเตรียมการสอน 1.1 การศึกษา และวิเคราะห์เรื่องที่จะสอน 1.2 การเตรียมแหล่งข้อมูล 1.3 การจัดทำแผนการสอน 1.4 การเตรียมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ 1.5 การเตรียมการวัดและประเมินผล

  14. บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอน 2. บทบาทด้านการดำเนินการ 2.1 การเป็นผู้ช่วยเหลือให้คำแนะนำปรึกษา 2.2 การเป็นผู้สนับสนุนและเสริมแรง 2.3 การเป็นผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรม 2.4 การเป็นผู้ติดตามตรวจสอบ 2.5 การเป็นผู้ให้ข้อมูลป้อนกลับ 2.6 การเป็นผู้สร้างเสริมบรรยากาศที่อบอุ่นเป็นมิตร 3. บทบาทด้านการประเมินผล

More Related