1 / 28

Miniresearch สิทธิผู้ป่วย

Miniresearch สิทธิผู้ป่วย. การพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล. ผู้รับผิดชอบโครงการ. ที่ปรึกษาโครงการ หัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ตรวจการและหัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ หัวหน้าโครงการ นางสาวเกษณา แซ่ล้อ ผู้ตรวจการพยาบาล ผู้ประสานงานคุณภาพ

joben
Download Presentation

Miniresearch สิทธิผู้ป่วย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Miniresearch สิทธิผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล

  2. ผู้รับผิดชอบโครงการ • ที่ปรึกษาโครงการ หัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ตรวจการและหัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ • หัวหน้าโครงการนางสาวเกษณา แซ่ล้อ ผู้ตรวจการพยาบาล ผู้ประสานงานคุณภาพ • ผู้ร่วมวิจัย กรรมการ QAWN ตัวแทนจาก 16 หอผู้ป่วย

  3. หลักการและเหตุผล • มาตรฐานโรงพยาบาลปี 2549 กำหนดการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยเป็นมาตรฐานหนึ่งในการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพโรงพยาบาล • ความสอดคล้องกับ ที่สภาการพยาบาลได้กำหนดมาตรฐานการรักษาสิทธิผู้ป่วยไว้เป็นหนึ่งในหมวดมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล • สุ่มสำรวจการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยในหอผู้ป่วยที่สังกัดงานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ • พบว่าส่วนใหญ่รับทราบสิทธิพื้นฐานตัวเองตามรัฐธรรมนูญ แต่ การตอบสนองสิทธิผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุม และบางส่วนรู้สึกว่าถูกละเมิดสิทธิเช่นการใช้คำพูดที่ไม่ระมัดระวังของบุคลากรพยาบาลโดยไม่ตั้งใจ

  4. วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนและประเมินการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย • เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติตามมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย

  5. ตัวชี้วัด • หอผู้ป่วยมีการทบทวนและประเมินการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย • หอผู้ป่วยมีการปรับปรุงการปฏิบัติเพื่อคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย

  6. การดำเนินงาน • เริ่มตั้งแต่ เมษายน 2552 จนถึง ปัจจุบัน 1 ทบทวนปฏิบัติตามมาตรฐาน สุ่มประเมินปฏิบัติและสอบถามจากผู้รับบริการ 2 จัดทำโครงการนำเสนอผู้บริหารในงาน 3ดำเนินการทบทวนและประเมินการปฏิบัติจริงโดยตัวแทนจากทุกหอผู้ป่วยเข้าสุ่มสัมภาษณ์ผู้ป่วยจำนวน 30 ราย ในหอผู้ป่วยสามัญและวิกฤติ โดยใช้กรอบคำถามตามประเด็นสิทธิผู้ป่วย 4 วิเคราะห์ผล แจ้งให้หัวหน้าหอผู้ป่วยและตัวแทนจากหอ กำหนดแนวปฏิบัติเพื่อนำไปพัฒนาแก้ไข และทบทวนการปฏิบัติในหอผู้ป่วยตัวเอง

  7. การดำเนินงาน 5 ติดตามความก้าวหน้า และหาโอกาสพัฒนาร่วมกัน และแจ้งให้หัวหน้าหอผู้ป่วยรับทราบเป็นระยะ 6 ใช้วิธีการเยี่ยมสำรวจโดยทีมผู้วิจัยเพื่อติดตามความก้าวหน้า 7 หอผู้ป่วยทบทวนและประเมินการปฏิบัติ และรายงานผลลัทธ์ให้งานการทราบ ขยายผลในส่วนที่ปฏิบัติได้ดี 8 ประเมินโครงการและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ

  8. ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลช่องทางการเผยแพร่ข้อมูล • การประชุมร่วมของกรรมการQAWN ทุกเดือน • แจ้งผ่านหัวหน้าหอผู้ป่วย • ผ่านCop :: QA_dot_Com....การจัดการความรู้ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

  9. สิทธิผูปวย10 ประการ 1. สิทธิพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ 2. ไมเลือกปฏิบัติ • ไดรับขอมูลเพียงพอชัดเจน • ไดรับการชวยเหลือทันทีเมื่อเสี่ยง 5. ทราบชื่อผูใหบริการ 6. ขอความเห็นที่สอง(ผูเชี่ยวชาญ) 7. ปกปดขอมูล(รักษาความลับ) • การเขารวมวิจัย(การอนุญาตหรือยกเลิกไมรวม) • ขอมูลในเวชระเบียน(การขอทราบขอมูล) • การใชสิทธิแทน(ผูปวยเด็ก พิการสติไมดี)

  10. “ลักษณะการคุมครอง”ของสรพ. และการคุมครอง สิทธิผู้ป่วยตามมาตรฐานหมวดการปฏิบัติ ของสภาฯ

  11. ความก้าวหน้าของการดำเนินการความก้าวหน้าของการดำเนินการ miniresearch เมื่อ 20เมย. 2552 • ถูกระเมิดสิทธิตามความรูสึกของผูปวย • เสียงดัง(การพูดคุย,การทํากิจกรรม,ญาติขางเตียง) • นอนเตียงชํารุดหลังผาตัดวันแรกและเตียงไขไมได้ • หลังผาตัดใหมๆนอนไกลจากเคานเตอร ออดไมเพียงพอใชงานไมได้ • ปวดแผลผาตัดมากมียาแกปวดฉีดทุก6 ชม. แตไมเพียงพอเมื่อรองขอไมไดรับยาและไมมีการใหขอมูลหรือ เหตุผลใดๆ

  12. ถูกระเมิดสิทธิตามความรูสึกของผูปวยถูกระเมิดสิทธิตามความรูสึกของผูปวย 5 ยุงเยอะหองน้ำไมสะอาด 6 ไมสื่อสารกันในจนท.ผูปวยรูสึกวาถูกตอวาโดยตัวผูปวยเองไมไดทําผิด 7 พูดเรื่องสวนตัวของผูปวย เชนอวน • แพทยconference เรื่องของผูปวยแต่ ไมทําใหรูสึกวามีสวนรวมในการถกประเด็นที่เปนเรื่องของผูปวยเอง • แพทย round แตไมพูดกับผูปวย และไมใหขอมูลใด ไมกลาถาม • จนท.ไม่ระวังเรื่องเทคนิคตางๆเชน ใสถุงมือเทปสสาวะและมาแจก อาหารโดยยังใชถุงมือคูเดิม 11 ไมอยากใชอุปกรณตางๆรวมกับผูปวยอื่นๆเชนปรอทวัดไขที่ตองอมทางปาก, urinal

  13. หอผูปวยทบทวนตนเองตามประเด็นเหลานี้หอผูปวยทบทวนตนเองตามประเด็นเหลานี้ • มีสถานการณใดบางที่ผูปวยอาจถูกละเมิดความเปนสวนตัว (เชน Expose ขณะทําหัตถการ, ผูปวยไมรูสึกตัวใสเสื้อผาปกปดไมมิดชิด เปดเผยรางกาย ฯลฯ) • มีสถานการณใดบาง ผูปวยอาจถูกทํารายทางกาย จิตใจ สังคมฯ • มีกระบวนการดูแลใดบาง เปน good practice เชน palliative care, การดูแลเด็กเล็ก, การผูกมัดผูปวยที่ญาติยอมรับและรวมดูแลดวย)

  14. หอผูปวยทบทวนตนเองตามประเด็นเหลานี้ • มีประกาศสิทธิผูปวยหรือไม • สื่อสารขอมูลเรื่องสิทธิผูปวยดวยวิธีใด... • มีการคนหาเชิงรุกเพื่อคนหาโอกาสการคุมครองสิทธิผูปวยกลุมเสี่ยง อยางไรเพื่อมิใหถูกละเมิดสิทธิ เชนผูปวยเด็ก คนพิการคนสื่อภาษาไมได ฯลฯ

  15. Mini research 18 ตค 2552 1 . ทุกหอผูปวยมี “ ประกาศสิทธิผูปวย” หรือไมและติดประกาศไวบริเวณใด • ทุกหอมีประกาศสิทธิ ฯ ติดไว ตําแหนงที่ติดประกาศ อยูในที่มองเห็นงาย เช่นประตูทางเขาดานหนา หนาหอง ในหอง แผนพับ แฟมสิทธิผูป่วย 2. หอผูปวยมีการคนหาเชิงรุกเพื่อหาโอกาสการคุมครองสิทธิผูปวยกลุมเสี่ยง อยางไรเพื่อไมไหถูกละเมิดสิทธิ • กลุมเด็กกลุมผูสูงอายุ กลุมที่ไมรูสึกตัวหรือมีปญหาสื่อสาร กลุมผูพิการ ให้ญาติเฝา ร่วมตัดสินใจ สื่อสารผ่านล่าม • กลุมประวัติทํารายตนเอง หรือ ตองตัดอวัยวะ สงปรึกษาจิตแพทย • case คดี ปกปดขอมูล ตรวจสอบผูเขาเยี่ยม

  16. 3 .คนหาและวิเคราะหตนเอง สถานการณใดบางที่ผูปวยอาจถูกทํารายทางรางกาย จิตใจ สังคม ทางร่างกาย • caseคดี เสี่ยงถูกทํารายซ้ำ ไมใหขอมูลเชิงลึกทางโทรศัพท ตรวจสอบผูเยี่ยม • ผู้ทํารายตนเอง เสี่ยงทําซ้ำ ปรึกษาแพทยทางจิตเวชทุกราย • นอนไมหลับเนื่องจากอุปกรณทางการแพทย จนท. ผู้ป่วยอื่น ปรับปรุงแกไขเชนเปลี่ยนสนรองเทา

  17. ทางจิตใจ • พูดจาเสียดสี ปมดอย เช่น ไปหองพิเศษยายกลับมา , อ้วน, ดื่มสุราเกิดโรคและอุบัติเหตุ ไมพูดจาใหผูปวยกังวล • เลื่อนผาตัดบอย เครียด พ.อธิบายเหตุผลและจนท.ชวยพูด • แพทยพูดถึงผูป่วยอื่นใกลเตียง กังวล ผาน PCT • แจง HIV ไมประเมินความพรอม ประเมินความพรอม ใชคําวา “ บอกความจริง “ แทนคําวา “ แจงขาวราย “ • ผูปวยสับสน ไมแจ้งขณะใหการพยาบาลหรือ พูดวิจารณ์ ให้จนท. ความระมัดระวังการพูด ทางสังคม • ผูปวยถูกผูกมัด ญาติมาเห็นแลวรับไมได มีการอธิบายใหทราบถึงเหตุผล

  18. 4. คนหาและวิเคราะหตนเองมีสถานการณใดบางที่ผูปวยอาจถูกลวงละเมิดความเปนสวนตัวเช่น เปิดเผยรางกายเมื่อทําหัตถการ ,เปดเผยรางกายผู้ป่วยที่ไมรูสึกตัว • ทำแผลโดยไมปดมาน • ใส foley ' cath หรือ การทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธ • สับสนนุงผาขวางปกปดรางกายไมมิดชิด • การชวยฟนคืนชีพ • หองน้ำไมไดแยกของชายหญิง

  19. 5. วิเคราะหตนเองมีกระบวนการใดบางที่เปน Best practice • การดูแลผูปวยเด็ก เรื่องงดน้ำและอาหารและปองกันหกลมตกเตียงให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม • การดูแลแบบครบวงจรตั้งแต OPD ถึงหอผูปวยเช่น มะเร็งเตานม มะเร็งลําไสตรง • การดูแลผูปวยระยะสุดทาย - ใหแพทยคุยกับญาติ หอผูปวยจะดําเนินตามแนวทาง palliative care • ผูปวยที่ญาติไมตองการให CPR มีการแจงความประสงคไวเซ็นใบไว

  20. Mini research 16 พย 52 ใช Tracer methodology เพื่อตามรอยดานการคุมครองสิทธิ • กลุมที่ 1 การดูแลผูปวยในสถานการณฉุกเฉิน เมื่อมาตรวจที่ER เขานอนที่หอผูปวย เพื่อ สังเกตอาการและเตรียมผาตัด ทั้งนี้ใหเริ่มตนตามรอยที่หอผูปวยกลุมวิกฤต-ฉุกเฉิน • กลุมที่ 2 การดูแลผูปวยในภาวะวิกฤติ การดูแลผูปวยหลังผาตัด ผูปวยที่อยูใน ICU , SubICU • กลุมที่ 3 การดูแลผูปวยในระยะ พักฟนพนระยะวิกฤตไปแลว เพื่อการเตรียมจําหน่าย เชน การดูแลผูปวยในหอผูปวยสามัญ ใหนํากรอบสิทธิผูปวย 4 ดานไปเปนประเด็นในการตามรอยการดูแลผูปวย

  21. สิ่งที่หอผูปวยตองพิจารณาและนําไปปรับปรุงเพื่อใหเกิดรูปธรรมของการพิทักษสิทธิ์ หรือคุมครองสิทธิผูปวย 1. การตามรอยครั้งนี้ไมครอบคลุมในทุกประเด็น เชน สิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือโดยทันที่เมื่ออยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต(เนื่องจากการสุมเขาหอผูปวยวันนี้ไมมีผูปวยและญาติ, ไมเคยประสบกับสถานการณดังกลาว) 2. ในครั้งนี้ไมพบรูปธรรมของวิธีการแนะนําตนเองของจนท.(การรับรูของผูปวย ญาติ) ขอใหหอผูปวย กําหนดรูปธรรมการปฏิบัติใน หอผูปวยให้เหมาะสมกับบริบท จัดทําเนียบของจนท.ในทุก หอผูปวย

  22. 3. ใหสํารวจผูปวยกลุมใหญในหอผูปวยของตน และใชตัวอยางการตามรอยผูปวยในประเด็นการคุมครองสิทธิผูปวยนี้ ไปเปนแนวทางการตามรอยผูปวยตามบริบทของผูปวย เพื่อใหเห็นภาพการคุมครอบสิทธิผูปวยในหอผูปวยตนเอง 4. ใหหอผูปวย สุมตรวจสอบเวชระเบียนในเรื่องในประเด็นการคุมครองหรือพิทักษสิทธิ์ผูปวยที่หอผูปวยปฏิบัติ เพื่อทบทวนการบันทึกเวชระเบียนวาสอดคลองกับการปฏิบัติ หรือไม

  23. Miniresearch สิทธิผูปวย 14 ธค 52 1. สิทธิการไดรับบริการทางสุขภาพ ดานบวก • ผูปวยรับทราบสิทธิของตนในการรับบริการ • บิดามารดามีสิทธิที่จะเฝาบุตร • ไดรับการแจงใหทราบเกี่ยวกับคายานอกบัญชี ยาหลัก • ไดรับอนุญาตใหทําพิธีกรรมทางศาสนา • ไดรับการชวยชีวิตในกรณีฉุกเฉิน เชน การ CPR การผาตัดฉุกเฉินเพื่อชวยชีวิต • กรณีผูปวยไมรูสึกตัว จะมีการแจงขอมูลใหญาติทราบ • คาใชจาย สิทธิคารักษา จะตองผานการยื่นสิทธิและแนะนําตามสิทธิของผูปวย แจงขอมูลใหทราบกอนเกี่ยวกับคารักษาสวนเกินเพื่อใหการรักษาที่ดีกวา เชน อุปกรณการแพทยบางอยาง

  24. ดานลบ • บอกสิทธิพื้นฐานแตไมไดบอกสวนเกิน • คารักษาบางอยางที่ผูปวยและญาติตองรับผิดชอบนอกเหนือจากสิทธิ ไมมีการแจงใหทราบลวงหนา

  25. 2. สิทธิที่จะไดรับขอมูล ดานบวก -ไดรับขอมูลแรกรับ แจกนามบัตรหอผูปวยแกญาติ และผูปวย แจงเรื่องเวลาเยี่ยม -มีแผนพับแนะนําเรื่องโรค - เนนย้ำ เจาหนาที่ใหติดปายชื่อ - จนท.มีกรอบปายชื่อแขวนเปนสีแบบเดียวกัน เพื่อความเปนองคกร เดียวกัน ดานลบ - ยังมีใสเสื้อคลุมชุดพยาบาล และไมมีปาย identify ตัวเจาหนาที่

  26. 3. สิทธิในความเปนสวนตัว ดานบวก - ใชกระดานพลาสติกติดที่กระจกใสซึ่งตั้งระหวางหองผูปวย 4. สิทธิการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ดานบวก - ผูปวยออนแรงหรือทุพพลภาพ, หยาเครื่องชวยหายใจไมได ประสานเพื่อกายภาพบําบัด เชน นักกายภาพบําบัด และคณะเทคนิคการแพทย -วิตกกังวลมากหรือตองตัดแขน ขา หรือ ติดสุรา ขอใหแพทยชวย Consult จิตแพทย์ - เปลี่ยนแปลงการรักษาหรือผาตัดใหม มีการเซ็นใบยินยอมการรักษาใหมแจ้งให้ทราบ และ ตองระบุวาจะผาตัดอะไร -กรณีไมยินยอมรักษา ประสานงานกับแพทยเพื่อใหขอมูล แตถายังปฏิเสธการรักษา ตองการยายโรงพยาบาลจะชวยประสานงาน

More Related