1 / 37

เครื่องมือวัดการบาดเจ็บ Measurement of Injuries

เครื่องมือวัดการบาดเจ็บ Measurement of Injuries. ร ศ.ดร.กัณวีร์ กนิษฐ์พงศ์ และณัฐ พงศ์ บุญตอบ ภาควิชาวิศวกรรมขนส่ง คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. การวัดอัตราการบาดเจ็บ. การวัดขั้นพื้นฐาน (Traditional epidemiological measures)

joel-wood
Download Presentation

เครื่องมือวัดการบาดเจ็บ Measurement of Injuries

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องมือวัดการบาดเจ็บMeasurement of Injuries รศ.ดร.กัณวีร์ กนิษฐ์พงศ์และณัฐพงศ์ บุญตอบ ภาควิชาวิศวกรรมขนส่ง คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

  2. การวัดอัตราการบาดเจ็บการวัดอัตราการบาดเจ็บ • การวัดขั้นพื้นฐาน (Traditional epidemiological measures) • การวัดโดยใช้ข้อมูลโดยรวม(Summary measures of population health) • การวัดทางเศรษฐศาสตร์ (Economic measures of disease) เราจะสามารถคำนวณความเสี่ยงจากการบาดเจ็บได้อย่างไร??

  3. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐานTraditional Measures • การนับ • สัดส่วน ร้อยละ • อัตราส่วน • Lifetime Measures (LE and YPLL) of Mortality

  4. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures การนับจำนวนผู้บาดเจ็บ • จำนวนผู้บาดเจ็บที่เกิดขึ้นจริง • นำมาใช้ในการคำนวณอัตราส่วน (rates) และ สัดส่วน (proportion) • ใช้สำหรับสะท้อนปัญหาความรุนแรงของการบาดเจ็บ

  5. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures ตัวอย่างการนับจำนวนผู้บาดเจ็บ แหล่งข้อมูล:สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  6. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures สัดส่วนการบาดเจ็บ • ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวน 2 จำนวนที่เป็นสัดส่วนกัน ไม่บ่งบอกถึงปริมาณหรือจำนวนที่แท้จริง • ใช้สำหรับอธิบายการเปลี่ยนแปลงของการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น • ใช้สำหรับเปรียบเทียบปัญหาความรุนแรงของการบาดเจ็บ เช่น • ร้อยละการบาดเจ็บของอุบัติเหตุทางถนน เปรียบเทียบกับอุบัติเหตุทุกประเภทที่เกิดขึ้น • สัดส่วนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่เป็นเพศชาย

  7. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures ตัวอย่างสัดส่วนการบาดเจ็บ ประเภทของผู้ใช้ทางที่บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนน (พ.ศ. 2552) แหล่งข้อมูล 1 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2 สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  8. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures อัตราส่วนการบาดเจ็บ • ตัวเลขสัดส่วนการบาดเจ็บ ที่มีตัวหารเป็นจำนวนประชากร หรือ ระยะเวลา • ใช้แสดงแนวโน้มสถานการณ์ของการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น • ใช้สำหรับการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มหรือสถานที่ • ใช้สำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยง และประเมินมาตรการที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา

  9. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures ตัวอย่างอัตราส่วนการบาดเจ็บ

  10. Source: WHO (2550) ผู้เสียชีวิตต่อแสนประชากร 14.15

  11. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures ตัวหาร หรือ ตัวส่วน (Denominators) • จำนวนประชากรต่อระยะเวลา • ตัวหารหรือตัวส่วนอื่นๆ เช่น • จำนวนรถจดทะเบียน • จำนวนผู้มีใบอนุญาตขับขี่ • ปริมาณการเดินทาง (คัน-กม.)

  12. ตัวอย่างการใช้ตัวหารหรือตัวส่วนที่แตกต่างกันตัวอย่างการใช้ตัวหารหรือตัวส่วนที่แตกต่างกัน อัตราการเสียชีวิต ต่อ ประชากร รถจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์มวลรวม และการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

  13. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures แนวโน้มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2536 – 2554 แหล่งข้อมูล: 1) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 3) กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม 4) กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน5) สำนักงานคณะกรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ 6) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

  14. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures Lifetime Measures: Life expectancy (LE) • จำนวนปีที่คนหนึ่งคนจะสามารถมีชีวิตอยู่ได้ • เป็นตัวชี้วัดที่ใช้กันมากสำหรับแสดงระดับสุขภาพของประชากร • แสดงตัวเลขเป็นจำนวน

  15. การวัดการบาดเจ็บขั้นพื้นฐาน Traditional Measures Lifetime Measures:Year of potential life lost (YPLL) • จำนวนปีที่สูญเสียไปก่อนวัยอันควร หรือการตายก่อนเวลาอันควร (premature mortality) • ใช้สำหรับการเปรียบเทียบ premature mortality ในกลุ่มประชากรที่แตกต่างกัน • เป็นองค์ประกอบหนึ่งของดัชนีวัดภาระโรคด้านการตาย  • เป็นการวัดที่อยู่บนพื้นฐานของเวลาของชีวิตที่หายไปจากการตายก่อนเวลาอันสมควร โดยเทียบกับอายุคาดเฉลี่ยที่บุคคลๆหนึ่งจะสามารถมีชีวิตอยู่ได้  • การเสียชีวิตที่อายุต่างกัน เป็นการบ่งบอกถึงระดับการสูญเสียที่ต่างกัน สามารถวัดเป็นจำนวนปีชีวิต (Life years) ที่สูญเสียไป ณ อายุที่ต่างกัน

  16. การวัดโดยใช้ข้อมูลโดยรวมSummary measures of population health • SMPH • เครื่องมือการวัดทางสุขภาพ ที่ใช้ข้อมูลโดยรวมของสุขภาวะที่สูญเสียไปจากการเสียชีวิตและการบาดเจ็บของประชากร • เป็นตัวชี้วัดสถานะสุขภาพของประชากรแบบองค์รวม

  17. การวัดโดยใช้ข้อมูลโดยรวม Summary measures of population health DALYS:Disability-adjusted life years (DALYs) ดัชนีปีสุขภาวะที่ปรับด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ(DALYs) เป็นการวัดสถานะสุขภาพของประชากรแบบองค์รวม ที่วัดภาวะการสูญเสียด้านสุขภาพ หรือช่องว่างสุขภาพ (Health Gap) DALYs = YLLs + YLDs YLLs = จำนวนปีที่สูญเสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร YLDs = จำนวนปีที่มีชีวิตอยู่กับความบกพร่องทางสุขภาพ

  18. การวัดโดยใช้ข้อมูลโดยรวม Summary measures of population health YLD: Years lived with a disability • จำนวนปีที่สูญเสียเนื่องจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ (YLD) เป็นการประมาณค่าจำนวนปีที่สูญเสียไป จากการเจ็บป่วยหรือความพิการ • ข้อมูลสำคัญที่นำมาใช้ในการคำนวณ YLD • อุบัติการณ์การเกิดโรคและความผิดปกติ (disability incidence) • ระยะเวลาที่มีภาวะบกพร่องทางสุขภาพนั้นๆ (disability duration) • อายุที่เริ่มมีภาวะบกพร่องทางสุขภาพ (age at onset) • การกระจายของระดับความรุนแรงของโรค หรือความผิดปกติ (disability by severity class)

  19. เครื่องมือวัดการบาดเจ็บโดยใช้มูลค่าเงินเครื่องมือวัดการบาดเจ็บโดยใช้มูลค่าเงิน ค่าใช้จ่ายทางตรง (Direct Costs) ค่าใช้จ่ายทางอ้อม (Indirect costs) • ค่ารักษาพยาบาล • ค่าการช่วยชีวิตฉุกเฉิน • ค่าใช้จ่ายในการบังคับใช้กฎหมาย • ค่าใช้จ่ายในระบบยุติธรรม • ค่าความสูญเสียในการทำงาน (lost productivity) • ค่าความเสียหายที่ยากต่อการประเมิน (intangible loss) • คุณภาพชีวิต • การบาดเจ็บและสูญเสีย

  20. ตัวชี้วัดด้านอุบัติเหตุทางถนนสำหรับประเทศไทยตัวชี้วัดด้านอุบัติเหตุทางถนนสำหรับประเทศไทย

  21. ตัวชี้วัดด้านอุบัติเหตุทางถนนตัวชี้วัดด้านอุบัติเหตุทางถนน • ข้อมูลสถิติอุบัติเหตุทางถนน (Road Accident Data) • จำนวนอุบัติเหตุ • จำนวนผู้เสียชีวิต • จำนวนผู้บาดเจ็บ • ข้อมูลที่สามารถบ่งบอกถึงความรุนแรงของปัญหา รวมไปถึงความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต โดยแสดงเป็นอัตราส่วนต่างๆ

  22. การคำนวณค่าความเสี่ยงการคำนวณค่าความเสี่ยง Risk = Road Safety Outcome/Amount of Exposure • Road Safety Outcome เช่น จำนวนอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวิต จำนวนผู้บาดเจ็บ ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง พื้นที่เฉพาะเจาะจง ประเภทยานพาหนะที่เกี่ยวข้อง หรือชนิดของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น • Amount of Exposure ระดับการเผชิญความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนน (Accident Risk Exposure) เช่น จำนวนประชากร จำนวนรถจดทะเบียน ปริมาณการเดินทาง

  23. ระดับการเผชิญความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนนExposure Measures • ข้อมูลทางการจราจร (Traffic estimates) • ความยาวถนน • ปริมาณการเดินทาง (คัน-กม.) • ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง • ปริมาณรถ • ข้อมูลทางด้านผู้ใช้รถใช้ถนนที่มีความเสี่ยง (Person at risk estimates) • ปริมาณผู้ใช้รถใช้ถนน (คน-กม.) • จำนวนประชากร • จำนวนผู้ขับขี่ • ช่วงเวลาในการเดินทาง

  24. สรุปตัวชี้วัดสำหรับการเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยสรุปตัวชี้วัดสำหรับการเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย

  25. ตัวชี้วัดสถานการณ์ในภาพรวมตัวชี้วัดสถานการณ์ในภาพรวม • จำนวนอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวิต จำนวนผู้บาดเจ็บ • อัตราการเสียชีวิตหรือบาดเจ็บสาหัส ต่อจำนวนประชากร • อัตราการเกิดอุบัติเหตุของรถแต่ละประเภทต่อจำนวนรถจดทะเบียนสะสม • อัตราการเสียชีวิตหรือบาดเจ็บสาหัส ต่อจำนวนรถจดทะเบียนสะสม • อัตราการเกิดอุบัติเหตุ เสียชีวิต หรือบาดเจ็บสาหัส ต่อปริมาณการเดินทางบนทางหลวง • อัตราการเกิดอุบัติเหตุ เสียชีวิต หรือบาดเจ็บสาหัส ต่อความยาวของถนนทางหลวง

  26. ตัวชี้วัดสถานการณ์ในภาพรวม (ต่อ) • อัตราการการเสียชีวิต หรือบาดเจ็บสาหัส ต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ • อัตราการเสียชีวิต ต่อ การใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในภาคการจราจรและขนส่ง • ดัชนีความรุนแรง (Severity Index) หรือ จำนวนผู้เสียชีวิต ต่อ จำนวนอุบัติเหตุ 100 ครั้ง • ดัชนีการเสียชีวิต (Fatality Index) หรือ จำนวนผู้เสียชีวิต ต่อ จำนวนรวมผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บ • อัตราการบาดเจ็บสาหัสของผู้ใช้รถจักรยานยนต๋ ต่อ จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนสะสม • อัตราการบาดเจ็บสาหัสของคนเดินเท้าและขี่จักรยาน ต่อ จำนวนประชากร

  27. ตัวชี้วัดกลุ่มเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงตัวชี้วัดกลุ่มเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยง • ประเภทรถที่เกิดอุบัติเหตุ และอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ต่อจำนวนรถจดทะเบียน 10,000 คัน แบ่งตามประเภทรถ • อัตราการเสียชีวิต หรือการบาดเจ็บ ต่อประชากร 100,000 คน แบ่งตามเพศ • อัตราการเสียชีวิต หรือการบาดเจ็บ ต่อประชากร 100,000 คน แบ่งตามช่วงอายุ • อัตราการเสียชีวิต หรือการบาดเจ็บ ต่อประชากร 100,000 คนหรือ ต่อจำนวนรถจดทะเบียน 10,000 คันแบ่งตามประเภทผู้ใช้รถใช้ถนน • สัดส่วนคดีอุบัติเหตุจราจรที่มีสาเหตุจากการใช้ความเร็ว • สัดส่วนคดีอุบัติเหตุจราจรที่มีสาเหตุจากการเมาแล้วขับ

  28. http://trso.thairoads.org

  29. ขอบคุณครับ

More Related