1 / 46

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ( อบต. /เทศบาล)

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ( อบต. /เทศบาล). สรุปภาพรวม การดำเนินงานกองทุนฯ. - สปสช. โอน 40 บ. / หัว อบต./เทศบาล สมทบไม่น้อยกว่า 20-50 %. ส่งเสริมสุขภาพ.

Download Presentation

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ( อบต. /เทศบาล)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (อบต./เทศบาล)

  2. สรุปภาพรวมการดำเนินงานกองทุนฯสรุปภาพรวมการดำเนินงานกองทุนฯ - สปสช. โอน 40 บ./หัว อบต./เทศบาล สมทบไม่น้อยกว่า 20-50% ส่งเสริมสุขภาพ - ทำข้อตกลง อบต./เทศบาล ที่ผ่านเกณฑ์ - ตั้งกรรมการบริหารกองทุน - พัฒนาศักยภาพ กก. บริหาร ทีมแกนนำ จว. - ทำแผนสุขภาพชุมชน- ติดตาม ประเมินผล ป้องกันโรค กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต./เทศบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพ ปฐมภูมิเชิงรุก คณะกรรมการบริหารกองทุน ผู้ประกอบ อาชีพเสี่ยง แม่และเด็ก ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ คนพิการ แผนสุขภาพชุมชน ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วม

  3. อบต./เทศบาลสมทบ ตามข้อตกลง งบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค สปสช. 45 บาท/ประชากร • อบต.ขนาดเล็ก 30 % กองทุนหลักประกันสุขภาพ (ระดับท้องถิ่น) • อบต.ขนาดกลาง 40 % รายได้อื่นของกองทุน • อบต.ขนาดใหญ่ 50 % • ดอกเบี้ย • เทศบาลตำบล 50 % ประชาชนร่วมสมทบ • เงินบริจาค • เทศบาลเมือง 60 % • เงินจากกองทุนอื่นๆ • ในชุมชน • เทศบาลนคร 60 % (ปรับปี ๒๕๕๗)

  4. ยุทธศาสตร์ร่วมในการขับเคลื่อนกองทุนฯยุทธศาสตร์ร่วมในการขับเคลื่อนกองทุนฯ (ระดับเขต.,จังหวัด,อำเภอ,พื้นที่) ๑.เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพตำบล ๒. พัฒนาศักยภาพทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ๓. พัฒนาระบบการสื่อสารด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ๔. การติดตาม ประเมินผล

  5. (ร่าง) ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖

  6. สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖

  7. สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖

  8. สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖

  9. สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖

  10. สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖ สำนักกฎหมาย สปสช.

  11. วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๑.เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข ( เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล )ในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

  12. วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๒.เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มประชาชน หรือองค์กรประชาชน หรือหน่วยงานอื่นๆ( เช่น โรงเรียน ให้จัดกิจกรรมด้านสาธารณสุขเสริมได้)ในพื้นที่ ได้จัดทำแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ หรือการป้องกันโรค ให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่ และกรณีมีความจำเป็นต้องสนับสนุนเป็นค่าครุภัณฑ์ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาทต่อแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาของ กลุ่มประชาชน หรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นๆที่ได้รับการสนับสนุนนั้นๆ

  13. วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๓.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกเป็นเงินไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนในแต่ละปี ให้กับศูนย์เด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ ในชุมชน ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด

  14. วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๔. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปี และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อหน่วย และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล

  15. จุดเน้นงานกองทุนฯ ปี ๒๕๕๗ ๑.การบริหารจัดการภาพรวมมีประสิทธิภาพ ๒. การจัดทำรายงานครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ๓. ขยายงาน Long Term care และการดูแลพัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ในทุกพื้นที่ ๔. สนับสนุนการขับเคลื่อนDHS และODOP อำเภอ ๕. เชื่อมต่องานระบบสุขภาพชุมชนกับองค์กร ส. ** อบต./เทศบาล ที่มีความพร้อมขยายงานรักษาพยาบาล

  16. บทบาทสาขาจังหวัด/อำเภอ/ศูนย์เรียนรู้บทบาทสาขาจังหวัด/อำเภอ/ศูนย์เรียนรู้ ๑. สร้างและพัฒนาศักยภาพวิทยากรกองทุนระดับจังหวัด ๒. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯทุกคน (อบรม เป็นวิทยากร สร้างความรู้ ความเข้าใจ) ๓. เป็นพี่เลี้ยง นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ๔. อบรมให้ความรู้การจัดทำรายงานผ่านโปรแกรมออนไลน์ ๕. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ จังหวัด ๖. กิจกรรมอื่นๆตามความเหมาะสมของจังหวัด/อำเภอ

  17. สรุปการดำเนินงานกองทุน จังหวัดนครนายก การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด+อำเภอ 2556 ประเมินผลกองทุน ด้านบริหาร 1. รายงานการเงิน / กิจกรรมครบ 4 ด้าน ร้อยละ 77.77 2. อปท.โอนเงินสมทบตามเกณฑ์ 3. อบรมพัฒนาคุณภาพกองทุน ( 22 มี.ค. 2556) - โปรแกรมการบริหารจัดการ - ขับเคลื่อนอย่างไร ให้มีกฎหมายคุ้มครอง โดยศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ + อ.สมนึก แช่มช้อย 4. เพิ่มศักยภาพ..ศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ

  18. ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 (ต่อ) ด้านผลงาน 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น , grade A+ (90-100) 8 แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี , gradeA (70-89) 27 แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง , grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา, grade C ( 0- 49 ) ** 1 แห่ง ปัจจัยขัดขวาง - ผู้นำ และ เลขากองทุนมารับงานใหม่ - คณะกรรมการไม่เข้มแข็ง

  19. ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 (ต่อ) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ - ผู้นำ รู้และเข้าใจกองทุน - การทำงานเป็นทีม - การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้องถิ่น จนท. ประชาชน องค์กรในพื้นที่

  20. ข้อมูลทั่วไปกองทุนตำบล/เทศบาล

  21. งบประมาณกองทุนตำบล/เทศบาล ปี 2549 - 2556

  22. จำนวนโครงการและงบประมาณ จำแนกตามประเภท ปี 2549 - 2557

  23. ร้อยละการใช้งบประมาณแยกประเภทกิจกรรม จำนวน 77,526,565.บาท ( ณ 29 พย. 2556)

  24. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ อบต.พระอาจารย์ อ.องครักษ์

  25. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อำเภอองครักษ์ ค้นพบ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้นำมีวิสัยทัศน์ด้านสุขภาพ ทีมคณะกรรมการเข้มแข็ง (รู้ เข้าใจ หลักบริหารกองทุน ) เครือข่ายสุขภาพในชุมชนเข้มแข็ง อสม./ผู้สูงอายุ/จิตอาสา บันทึกโปรแกรมการบริหารจัดการกองทุนถูกต้อง ครบถ้วน ค้นหานวัตกรรมเพื่อแก้ปํญหาที่เกิดในพื้นที่ (รอกน้อยพลิกชีวิต)

  26. 2.การจัดสรรงบ P&P สำหรับระดับพื้นที่(PPA)ปี 2557

  27. การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) P&P Dental (10 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3) เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

  28. ประชากรดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในปี 2557

  29. กรอบแนวทางบริหารงบบริการP&P ปี 2557P&P สำหรับระดับพื้นที่(PPA) จำนวน 66.38 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ

  30. การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P บริการระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด21.38 บาท/คน

  31. ผลการอนุมัติ PPA 2 บาทเป็นการสนับสนุนงาน Service plan ด้านบริการที่เกี่ยวข้องกับ PP (ยุทธศาสตร์เขตเครือข่ายบริการที่ 4 จำนวน 10,684,736 บาท) 1.38 บาทในการสนับภาคประชาชน/เอกชน/จังหวัด/พื้นที่/เขต(โครงการ 7,372,467.84 บาท)

  32. รายการจัดสรรงบ PPA ให้กับสาขาจังหวัด ปี 2557

  33. การจัดสรรงบ PPA ปี 2557

  34. 3. งบตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการ ปฐมภูมิ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ปี 2557

  35. กรอบงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานกรอบงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงาน บริการปฐมภูมิ ปี 2557 (37 บาท/ปชก.UC) งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ PP (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) 1 งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ( 32 บ./ปชก.UC) 2.งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ( 5 บ./ปชก.UC) บริหาร โดย สปสช.เขต 106,847,360 บาท (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) บริหารโดย สปสช.เขต 105,375,694 บาท ( 32 บ./ปชก.UC) บริหารโดย สปสช.เขต 13,088,116 บาท ( 4บาท/ปชก.UC) บริหารระดับประเทศ. (1 บ./ปชก.UC) 1.แนวทางการจ่ายเงิน 2.ตัวชี้วัดพื้นที่ รวมงบจ่ายตามตัวชี้วัด บริหารโดย สปสช.เขต 212,223,054 บาท แนวทางการสนับสนุนงบ อปสข. ที่มา : คู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1

  36. สรุปข้อเสนอตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ปี2557ตัวชี้วัดเขต 3 ข้อ (ข้อเสนอจากที่ประชุม 18-19-20 พ.ย.) 9 QOF 2557 หมายเหตุ : คะแนนรวม 1000 คะแนน

  37. แนวทางการจ่ายเงินงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิแนวทางการจ่ายเงินงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ หลักการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลงานอย่างแท้จริง และมีประสิทธิภาพสอดคล้องเหมาะสมกับต้นทุนการพัฒนา ที่มาแนวทางการจ่ายแบบเดิมจ่ายตาม อัตรา : ปชก. ตามค่าคะแนน เมื่อวิเคราะห์ผลงาน งบ : หน่วย พบว่าไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับต้นทุนการพัฒนา • ใช้ Template ตัวชี้วัดที่สอดคล้องและเป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น • Template ตัวชี้วัด 8 flag shift /service plan ของกระทรวงสาธารณสุข • Template ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์สปสช. / TRIS • การกำหนดช่วงค่าคะแนนตัวชี้วัด • อิงเกณฑ์ กรณีที่เป็นตัวชี้วัดที่เป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข หรือ สปสช. • อิงกลุ่ม กรณีที่เป็นตัวชี้วัดที่ไม่ได้มีการกำหนดเกณฑ์/ค่าเป้าหมายระดับประเทศ

  38. 1.2 ข้อเสนอแนวทางการจ่ายเงินงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ 11 • 3. ใช้ข้อมูลที่มีในระบบของกสธ. และสปสช.เป็นหลัก เช่น OP/PP Ind. (21 แฟ้ม) , IP e-claim • 4. ใช้ผลงานบริการ 4 ไตรมาส คือ • ไตรมาส 3 และ 4 ปี 2556 • ไตรมาส 1 และ 2 ปี 2557 • (ยกเว้นบางตัวชี้วัดที่มีข้อจำกัด) • 5. จ่ายเงินให้หน่วยบริการประจำ • อัตราการจัดสรร (บาทต่อประชากร) ตามผลคะแนนตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ภายใต้วงเงินระดับเขต

  39. กรอบแนวทางการสนับสนุนงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ปี 2557 หลักการ เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์ สปสช./กสธ./ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ เครือข่ายที่ 4 ตามคู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1 หน้า 55 ข้อ(1.2) แนวทางการสนับสนุนงบ แนวทางการจ่ายเงิน 1. จ่ายตามโครงการ 2. จ่ายตามตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ หมายเหตุ : การพิจารณารายละเอียดของแผนงานโครงการและ ตัวชี้วัดให้เป็นไปตามความเห็นชอบของ สปสช.เขต ร่วมกับ คณะทำงานปฐมภูมิระดับเขต

  40. 4.กันเงินเพื่อจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการได้ไม่เกิน 20 บาท ต่อผู้มีสิทธิ

  41. กรอบการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ของหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ปี 2557

  42. 5. การบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานประกันสุขภาพ

  43. แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2557 ภาครัฐสังกัดสป.สธ. ส่วนกลาง(กสธ.) เขต จังหวัด 20% หน่วยบริการ 80% หน่วยบริการ

  44. แนวทางการดำเนินงาน จัดทำแผนโดย - หน่วยบริการและเครือข่าย ผู้อนุมัติ - คณะกรรมการประสานงาน สาธารณสุขระดับอำเภอ(คปสอ.) หน่วยบริการ 80% เขต 20% คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง

  45. การจัดสรรงบค่าเสื่อมระดับหน่วยบริการ (ร้อยละ 80)

More Related