1 / 39

ภ ายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ

“ โ ครงการจัดทำแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทย ในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”. ภ ายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดย รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์และคณะ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. การจัดทำแผนแม่บทการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า.

Download Presentation

ภ ายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทย“โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทย ในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดย รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์และคณะ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  2. การจัดทำแผนแม่บทการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้าการจัดทำแผนแม่บทการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า

  3. กระบวนการจัดทำ “แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕” ๓.ทบทวน การปศุสัตว์โลก ๒.วิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม ๑.กำหนดกรอบแนวคิด ๔.วิเคราะห์ศักยภาพ การปศุสัตว์ไทย แผนแม่บท ด้านการปศุสัตว์ไทย ในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕ ๘.ขอความเห็นชอบ ๕.สัมมนา สอบถามความเห็น ผู้มีส่วนได้เสีย ๗.ยกร่างแผนแม่บทฯ ๖.บูรณาการ แผนแม่บทฯ

  4. กรอบแนวคิดในการจัดทำ “แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”

  5. วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และปัจจัยแวดล้อม โดยสังเขป

  6. RUSSIA GREECE IRELAND ภาวะเศรษฐกิจโลก CHINA ITALY SPAIN JAPAN U.S. PORTUGAL I N D I A GWP 2011 = $78.95 trillion INDONESIA BRAZIL AUSTRALIA SOUTH AFRICA สัดส่วนขนาดเศรษฐกิจเทียบโลก (2011) EU = 19.50% PIIGS = 5.03% US = 19.05% BRICS = 26.56% ASEAN = 4.21% CHINA = 14.30% THAILAND = 0.76%

  7. GDP Growth rate US EU US EU

  8. ภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยภาวะเศรษฐกิจประเทศไทย ลดภาษี vs

  9. การขยายตัวของอาเซียน Asean ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 -เปิดเสรีการค้าสินค้า -เปิดเสรีตลาดการบริการ -เปิดเสรีทางด้านการลงทุน -เปิดเสรีด้านแรงงาน ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน 4.21%ต่อGDPโลก ($3,326,090,000,000 ) ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน+3 -> 26.03%ต่อGDPโลก ($20,554,090,000,000) ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน+6 -> 33.01%ต่อGDPโลก ($26,058,090,000,000)

  10. พัฒนาการของการปศุสัตว์โลกพัฒนาการของการปศุสัตว์โลก การเลี้ยงตามทุ่งหญ้าหรือตามบ้าน การเลี้ยงระบบฟาร์ม

  11. อัตราการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์ระหว่าง ปี 1980 -2030 การค้าขายเนื้อสัตว์และนม ของประเทศกำลังพัฒนาระหว่างปี ค.ศ. 1965-2030

  12. ทิศทางการปศุสัตว์โลก โดยสังเขป ภาวะปศุสัตว์โลกในปัจจุบัน ภาวะปศุสัตว์โลกในอนาคต

  13. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย สัดส่วนภาคเกษตรกรรมในแต่ละสาขา ปี พ.ศ. 2555 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  14. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย จำนวนเกษตรกรและจำนวนสัตว์ จำแนกตามรายประเภทสัตว์ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  15. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย มูลค่าการนำเข้า-ส่งออกสินค้าปศุสัตว์ของไทย ปี พ.ศ. 2551 - 2552 ที่มา: สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  16. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ที่สำคัญของไทยปี พ.ศ. 2553 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  17. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย ลำดับการค้าสินค้าปศุสัตว์ที่สำคัญปี พ.ศ. 2553 ที่มา:สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

  18. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป ๒. คลัสเตอร์การปศุสัตว์ไทย

  19. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป ๓. โครงสร้างภารกิจการปศุสัตว์ไทย

  20. ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป ๔. SWOT Analysis การปศุสัตว์ไทย จุดแข็ง: ขนาดพื้นที่เพียงพอ ระบบนิเวศน์หลากหลาย สภาพอากาศเหมาะสม ปริมาณการผลิตมาก ๑ ใน ๕ ของอาเซียน ระบบฟาร์มได้มาตรฐานสากล ฯลฯ จุดอ่อน: จำนวนแรงงานลดลง เกษตรกรระดับการศึกษาต่ำ เครือข่ายเกษตรกรไม่เข้มแข็ง จำนวนโรงชำแหละและแปรรูปได้มาตรฐานน้อยราย การติดต่อประสานงาน ข้อจำกัดทางการตลาด ฯลฯ โอกาส: จำนวนประชากรโลกเพิ่มสูงขึ้น เศรษฐกิจในภูมิภาคขยายตัว ชื่อเสียงด้านอาหารของไทยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจฯลฯ อุปสรรค: ความผันผวนทางเศรษฐกิจ วัตถุดิบอาหาร อุปสงค์ผู้บริโภค ปัจจัยการเมือง มาตรการกีดกันทางการค้า อำนาจทางการตลาด มลภาวะ กระแสต่อต้าน ฯลฯ

  21. ตารางสรุปแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องกับภาคการปศุสัตว์ตารางสรุปแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องกับภาคการปศุสัตว์

  22. แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้าแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕ วิสัยทัศน์ “การปศุสัตว์ไทยยั่งยืน ก้าวไกลในตลาดโลก”

  23. พันธกิจ

  24. เป้าหมายหลัก

  25. ยุทธศาสตร์การปศุสัตว์ไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕

  26. “แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์”“แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์” แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ (๕ ปี แรก) แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (๕ ปี หลัง)

  27. ภารกิจกรมปศุสัตว์

  28. แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ (๕ ปี แรก) วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำพัฒนาการปศุสัตว์สู่อาเซียนและตลาดโลก”

  29. พันธกิจ (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีแรก) ๑. เสริมสร้างการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ และสมรรถนะบุคลากรในกระบวนการปศุสัตว์ไทยให้มีความเป็นมืออาชีพ พร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) ส่งเสริมการสร้างคุณค่าในอาชีพเกษตรกรด้านการปศุสัตว์ ๒. ปรับปรุงโครงสร้างการผลิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างมูลค่าเพิ่ม เสริมสมรรถนะ ศักยภาพทางการแข่งขัน ๓. พัฒนาระบบสารสนเทศให้มีความเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ครบวงจร ๔. สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาในเชิงบูรณาการกับภูมิปัญญา และความคิดสร้างสรรค์เพื่อฐานแห่งศูนย์กลางแหล่งความรู้ ๕. กำกับ ดูแล ตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ ด้วยกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบให้ได้มาตรฐานสากล และความร่วมมือกับต่างประเทศ

  30. เป้าหมายหลัก (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีแรก) ๑. ทรัพยากรมนุษย์ในกรมปศุสัตว์มีจำนวนเพียงพอ มีศักยภาพและสมรรถนะได้มาตรฐาน เข้มแข็งพอต่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ๒. ระบบการผลิตปศุสัตว์ไทยทั้งห่วงโซ่การผลิต มีความสอดคล้องเชื่อมโยง ได้มาตรฐานตรงตามเงื่อนไข ประเทศคู่ค้า มีความร่วมมือกับประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน ๓. มีระบบสารสนเทศที่มีความครบถ้วน ทันสมัย ง่ายต่อการเข้าถึง และมีการดำเนินงานเชื่อมโยงกันอย่างบูรณาการ การบริหารจัดการภาครัฐด้านการปศุสัตว์ไทยมีความเข้มแข็งเป็นมืออาชีพในการให้บริการ ๔. เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการปศุสัตว์ไทย มีการร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ๕. มีบทบาทในการกำกับ ดูแล และตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ที่ชัดเจนมากขึ้น ด้วยเงื่อนไขข้อกฎหมาย กฎระเบียบที่ได้มาตรฐานสากลต่างๆ รวมทั้งข้อบัญญัติในความตกลงความร่วมมือกับต่างประเทศ

  31. ค่านิยมหลักกรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ “I-SMART” I: Innovation สร้างนวัตกรรม S: Standard สร้างมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ M:Mastery ทำงานอย่างมืออาชีพ A: Agility คล่องตัวและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง R: Responsibility มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ T: Teamwork มุ่งมั่นในการทำงานร่วมกัน

  32. ยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐

  33. แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (๕ ปี หลัง) วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรนำขับเคลื่อนการปศุสัตว์ไทยยั่งยืนในตลาดโลก”

  34. พันธกิจ (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีหลัง)

  35. เป้าหมายหลัก (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีหลัง) ๑. เป็นผู้นำการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านปศุสัตว์สู่สากล ๒. ศักยภาพด้านการผลิตได้มาตรฐาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการสร้างตราสินค้าให้กับผลิตภัณฑ์การปศุสัตว์ไทย เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ๓. เป็นศูนย์กลางด้านปศุสัตว์ในอาเซียน ๔.มุ่งเน้นบทบาทหน้าที่ในการเป็นฝ่ายกำกับควบคุมดูแล

  36. ค่านิยมหลักกรมปศุสัตว์พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ “I2-SMART” I: Innovation สร้างนวัตกรรม I: Integration ทำงานแบบบูรณาการ S: Standard สร้างมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ M: Mastery ทำงานอย่างมืออาชีพ A: Agility คล่องตัวและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง R: Responsibility มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ T: Teamwork มุ่งมั่นในการทำงานร่วมกัน

  37. ยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕

More Related