1 / 52

สรุปผลการปฏิบัติงานในรอบ 2 ปี 7 ต.ค. 2553 – 6 ธ.ค. 2555

สรุปผลการปฏิบัติงานในรอบ 2 ปี 7 ต.ค. 2553 – 6 ธ.ค. 2555. นโยบาย และแนวทางการบริหาร ที่อธิการบดีเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย. 1. สร้างชุมชนผู้รู้ทางวิชาการ 2. ปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ ค้นคว้าควบคู่กับการสร้างสำนึก สาธารณะ และความกล้าทางจริยธรรมให้นักศึกษา

juan
Download Presentation

สรุปผลการปฏิบัติงานในรอบ 2 ปี 7 ต.ค. 2553 – 6 ธ.ค. 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการปฏิบัติงานในรอบ 2 ปี 7 ต.ค. 2553 – 6 ธ.ค. 2555

  2. นโยบาย และแนวทางการบริหาร ที่อธิการบดีเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย 1. สร้างชุมชนผู้รู้ทางวิชาการ 2. ปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ ค้นคว้าควบคู่กับการสร้างสำนึก สาธารณะ และความกล้าทางจริยธรรมให้นักศึกษา 3. เปิดโอกาสกว้างเพื่อประชาชนทุกกลุ่ม ทุกชั้น และผู้ด้อยโอกาส 4. ยกมาตรฐานการทำงานและขวัญกำลังใจให้บุคลากร 1. นโยบายด้านคน มี 4 แนวทาง

  3. นโยบาย และแนวทางการบริหาร ที่อธิการบดีเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคม ในทุกศูนย์ 7. สร้างสังคมธรรมศาสตร์ให้เป็นแบบอย่างด้านธรรมาภิบาล ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. นโยบายด้านสังคม มี 3 แนวทาง

  4. นโยบาย และแนวทางการบริหาร ที่อธิการบดีเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย 8. พลิกฟื้นความโดดเด่นด้านสังคมศาสตร์ 9. ขับเคลื่อนความก้าวหน้าในศาสตร์ประยุกต์ ของสายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10. ผลักดันการปฏิบัติในสายวิทยาศาสตร์สุขภาพสู่ชุมชนโดยรอบและ ในกลุ่มขาดโอกาส 3. นโยบายด้านวิชาการ มี 3 แนวทาง

  5. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 1. สร้างชุมชนผู้รู้ทางวิชาการ 1) อาจารย์วุฒิปริญญาเอกมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปีการศึกษา 2555 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2553 รวม 53 คน หรือ 6%

  6. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 1. สร้างชุมชนผู้รู้ทางวิชาการ (ต่อ) 2) ตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 2.1) ผู้ได้รับตำแหน่งในช่วงปี 2552 - 2555 คือ 56, 51, 53 และ 60 คน ตามลำดับ และอยู่ระหว่างพิจารณาอีก 99 คน ดังนี้ 2.2) เวลาการพิจารณาลดลง จาก 2 ปี 3 เดือน เหลือ 1 ปี 3 เดือน หรือ ลดลง 45%

  7. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 1. สร้างชุมชนผู้รู้ทางวิชาการ (ต่อ) 3) กลไกดูแลรักษาอาจารย์ที่มีผลิตภาพทางวิชาการ - พัฒนาระบบการจดลิขสิทธิ์ และสิทธิบัตรของอาจารย์ ให้สะดวก รวดเร็ว ให้เกิดประโยชน์ชัดเจนจากผลงาน - จัดสรรทุนวิจัยให้กับอาจารย์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2554-2556 จำนวน 30, 59 และ 90 ล้านบาท ตามลำดับ เพื่อทำวิจัยหัวข้อที่เป็นปัญหาของสังคมไทย เชื่อมโยงเศรษฐกิจ การเมือง สังคม มีข้อเสนอแนะแบบบูรณาการ - จัดโครงการเสริมสร้างสุขภาพกายใจให้แก่คณาจารย์ เช่น ศึกษาดูงานส่งเสริมทักษะทางสุนทรียะ เปิดโลกทัศน์ทางด้านศิลปะวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียน

  8. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 2. ปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ ค้นคว้าควบคู่กับการสร้างสำนึกสาธารณะ และความกล้าทางจริยธรรมให้นักศึกษา 1) กำหนดวิชา มธ. 100 พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นวิชาบังคับในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป ระดับปริญญาตรี เริ่มปีการศึกษา 2554 2) จัดการเรียนการสอน เรียนรู้ปัญหาจริงจากสังคม มีคณะเข้าร่วม 10 คณะ 30 ชุมชน เช่น โครงการมหาวิทยาลัยพี่โรงเรียนน้อง 3) รับนักเรียนจิตอาสาและประชาธิปไตยเข้าศึกษาต่อ ป.ตรี ปี 2555 37 คน ปี 2556 51 คน 4) กิจกรรมปลูกฝังให้นักศึกษา มีความรับผิดชอบต่อสังคม แยกขยะก่อนทิ้ง ขี่จักรยาน ลดภาวะโลกร้อน

  9. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 3. เปิดโอกาสกว้างเพื่อประชาชนทุกกลุ่ม ทุกชั้น และผู้ด้อยโอกาส 1) เพิ่มจำนวนนักศึกษา พิการ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการเรียนดีจากชนบทนักศึกษายากจนในชุมชนเมือง ฯลฯ 2) ปี 2554 เพิ่มจำนวนทุนนักศึกษาขาดแคลน จากปี 2553 จำนวน 975 ทุน หรือ 27% (ปี 2553 จำนวน 3,546 ทุน ปี 2554 จำนวน 4,521 ทุน) 3) โครงการ “ธรรมศาสตร์เพื่อชุมชนโดยรอบทุกศูนย์” เช่น ร.ร.อนุบาล ร.ร.ประถม มธ. ร.ร. จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย ปทุมธานี และ ลพบุรี 4) อบรมบุคลากร ชุมชน ให้มีความรอบรู้

  10. แนวทางการบริหาร : ด้านคน 4. ยกมาตรฐานการทำงาน และขวัญกำลังใจให้บุคลากร 1) ยกมาตรฐานการทำงาน โดย 1.1)ลดขั้นตอนการสั่งการบริหารให้รวดเร็วขึ้น โดยสภามอบอำนาจคณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัย กบม. อธิการบดี (มติสภาฯ ครั้งที่ 13/2553) 1.2) จัดประชุมร่วมระหว่างสภาฯ กับ ผู้บริหารหน่วยงาน เพื่อหาแนวทางวางนโยบายที่เหมาะสม 1.3) กำหนดวาระการประชุมด้านนโยบาย ในการประชุมสภาฯ อย่างน้อย 1 เรื่อง 1.4) นำข้อเสนอแนะของคณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาลฯ มาพิจารณาในการประชุม กบม. อย่างจริงจัง เพื่อหาแนวทางปรับปรุงการบริหาร

  11. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 4. ยกมาตรฐานการทำงาน และขวัญกำลังใจให้บุคลากร (ต่อ) 1.5) กำหนดกติกาการประเมินผลสัมฤทธิ์สายสนับสนุนวิชาการ เพื่อใช้เลื่อนขั้นเงินเดือน การปรับสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น การพัฒนาบุคลากรฯลฯ 1.6) พัฒนาระบบงานสำนักงานจัดการทรัพย์สินให้มาตรฐาน ได้รับใบรับรองระบบงานคุณภาพ จาก บริษัท SGS ประเทศไทย จำกัด 1.7) ขอใช้เงินสะสม 62 ล้านบาท เพื่อพัฒนา IT ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด 1.8) พัฒนาบริการ e-service เช่น Paperless ใบแจ้งเงินเดือนผ่าน Intranet นักศึกษาพิมพ์ใบเสร็จรับเงินเองได้ ใช้บัตรนักศึกษาเป็นบัตร Cash Card

  12. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 4. ยกมาตรฐานการทำงาน และขวัญกำลังใจให้บุคลากร (ต่อ) 1.9) ปรับระบบการรับเงินของลูกหนี้ของมหาวิทยาลัยให้เป็นระบบการโอนเงินผ่านธนาคาร 1.10) เปลี่ยนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ในสำนักงานอธิการบดี 1.11) ขยายวงเงินมอบอำนาจให้หน่วยงานหมวดวัสดุ จาก 1 แสนบาท เป็น ไม่จำกัดวงเงิน 1.12) เปลี่ยนค่าธรรมเนียมเป็นระบบเหมาจ่าย

  13. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 4. ยกมาตรฐานการทำงาน และขวัญกำลังใจให้บุคลากร (ต่อ) 2) สร้างขวัญและกำลังใจให้บุคลากร โดย 2.1) อธิการบดีพบปะผู้บริหาร และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ 2.2) อธิการบดีเปิดช่องทางพบปะกับประชาคม ผ่าน Facebook 2.3) ผู้บริหารมีการพบปะพูดคุยเรื่องนโยบายการทำงานกับเจ้าหน้าที่ อย่างน้อย ภาคการศึกษา ละ 1 ครั้ง 2.4) จัดกิจกรรมกีฬาเพื่อความสามัคคี พัฒนา EQ

  14. แนวทางการบริหาร : ด้านคน • 4. ยกมาตรฐานการทำงาน และขวัญกำลังใจให้บุคลากร (ต่อ) 2.5) จัดตั้งชมรมผู้เกษียณอายุ เพื่อได้พบปะ ทำกิจกรรมร่วมกัน เปิดตัวชมรม 22 ก.พ. 54 2.6) เพิ่มเงินสมทบค่ารักษาพยาบาล ในสำนักงานอธิการบดี จาก 1,000 เป็น 2,000 บาท/ปี 2.7) จ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพ ให้แก่พนักงานมหาวิทยาลัยและพนักงานเงินรายได้ ตามนโยบายรัฐบาล

  15. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ 1) ลงนามความร่วมมือระหว่างสถาบัน 1.1 แบบทวิภาคี มี 24 สัญญาใหม่ ปัจจุบันมีสัญญา 40 ประเทศ 194 สถาบัน 1.2 แบบเครือข่ายรวม 14 เครือข่าย ทั้งระดับโลก สหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และเฉพาะด้าน 2) มีนักศึกษาชาวต่างชาติ 253 คน และนักศึกษา มธ. เข้าร่วมโครงการแลกแปลี่ยน 194 คน

  16. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ (ต่อ) 3) ประชาสัมพันธ์หลักสูตร/โครงการศึกษานานาชาติ 3.1) ร่วมกิจกรรมหลักสูตรนานาชาติ 3 ครั้ง กับ NAFSA EAIEAPAIE 3.2) เปิดบ้านหลักสูตรนานาชาติ ปีละ 1 ครั้ง 3.3) Road Show ตลาดนัดอุดมศึกษาและดูงานโรงเรียนนานาชาติ 4 ครั้ง • จัดกิจกรรมสร้างสัมพันธ์กับนักศึกษาต่างชาติ • กระตุ้นนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันรับทุนไปเรียนต่อต่างประเทศ ในรอบ 2 ปี มีนักศึกษารับทุนทั้งสิ้น 181 คน

  17. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ (ต่อ) 6) จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา ศูนย์การแปลภาษาอาเซียน เพื่อแปลและแลกเปลี่ยนผลงานวิชาการสำหรับการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา และศูนย์ศึกษารัสเซียและเครือรัฐเอกราช ซึ่งอยู่ระหว่างเสนอจัดตั้ง ทั้งนี้ มธ. มีศูนย์อาณาบริเวณที่ครบวงจรอยู่เดิม 5 ศูนย์ คือ ศูนย์รัสเซีย ศูนย์อินเดีย ศูนย์ออสเตรเลีย ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ ศูนย์เอเชียตะวันออก 7) จัดอบรมและสัมมนาเกี่ยวกับอาเซียนอย่างต่อเนื่อง

  18. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ (ต่อ) 8) เปิดสอนรายวิชาภาษาของประเทศในอาเซียน และวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน จำนวน 15 วิชา 9) ให้คณะเปิดสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน เช่น ศิลปศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ฯลฯ 10) ปีการศึกษา 2556 กำหนดวิชาภาษาอังกฤษเป็นวิชาบังคับ เพิ่มอีก 1 วิชา (3 หน่วยกิต) เพื่อให้นักศึกษาทุกคนเรียนอย่างน้อย 3 วิชา (9 หน่วยกิต) 11) เปิดรายวิชาภาษาอังกฤษ เพิ่ม 80 กลุ่ม/ภาค (กลุ่มละ 30 คน)

  19. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ (ต่อ) 12)เปิดหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษและหลักสูตรนานาชาติ เพิ่มขึ้น 8 หลักสูตร

  20. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 5. เพิ่มบทบาทของมหาวิทยาลัยในแวดวงวิชาการระดับนานาชาติ (ต่อ) 12) กำหนดแนวนโยบายความเป็นนานาชาติของ มธ. 12.1) ปีการศึกษา 2556 คณะ/หน่วยงานที่ยังไม่เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ/ภาษาอังกฤษ - กรณีมีความพร้อม ให้เปิดสอนอย่างน้อย 1 หลักสูตร - กรณีไม่พร้อม ให้เปิดสอนรายวิชาในหลักสูตรภาษาไทยเป็น ภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 2 วิชา 12.2) คณะ/หน่วยงาน ที่เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ/ภาษาอังกฤษอยู่แล้ว ให้เปิดให้ครบ ทั้ง ป.ตรี ป.โท และ ป.เอก 12.3) เชิญอาจารย์ชาวต่างประเทศ หรือ Visiting Professor มาสอนอย่างน้อย 2 คน/ปีการศึกษา 20

  21. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ ท่าพระจันทร์ เป็นศูนย์กลางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ของประเทศ 1) ท่าพระจันทร์ เป็นหนึ่งใน “Must-see Destination” ของกรุงเทพมหานคร โดยจัดทำแผ่นพับ ภาษาไทย - อังกฤษ นำชมสถานที่สำคัญภายใน มธ. 13 แห่ง และทำป้ายเพิ่มเติม 4 จุด มีทีมบุคลากรบรรยายให้ความรู้

  22. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 2) ปรับปรุงและจัดสรรการใช้พื้นที่ท่าพระจันทร์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 35 โครงการ แล้วเสร็จ 26 โครงการ เช่น - ปรับปรุงตึกกิจกรรมและโรงยิมให้มีความทันสมัย - สร้าง Bicycle Cafe 3) ป้องกันน้ำท่วม มธ.ท่าพระจันทร์ ในช่วงปลายปี 2554 เช่น จัดตั้งศูนย์ประสานงานเฝ้าระวังป้องกันน้ำท่วม จัดตั้งศูนย์พักพิงผู้ประสบภัย

  23. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 4) งานที่อยู่ในขั้นตอนดำเนินการ - จัดทำป้ายชื่อถนน ที่ตั้งใหม่ และภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มเติม - ปรับปรุงซ่อมแซมพื้นที่และแนวเขื่อนป้องกันน้ำท่วมมธ.ท่าพระจันทร์ - ซ่อมแซมและบูรณะกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) อยู่ในขั้นตอนดำเนินการ

  24. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 5) งานระหว่างดำเนินการออกแบบ - ปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง บริเวณริมน้ำ และภูมิทัศน์ลานปรีดี มูลค่า 20 ล้านบาท - ก่อสร้างอาคารชั่วคราวด้านข้างอาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี ด้านริมแม่น้ำ - ปรับปรุงห้องรับรอง ตึกโดม - ติดตั้งกล้องวงจรปิดเพิ่ม 20 จุด ในระยะยาว อาจจะสร้างที่จอดรถใต้สนามฟุตบอล ความจุ 600 คัน และ อาจทำเป็นพิพิธภัณฑ์วังหน้า และ Mall ขนาดใหญ่

  25. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) ศูนย์รังสิต เป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพ 1) โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว เพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ จัดทำสวน ระยะทาง 900 เมตร ตลอดแนวถนนหน้าอาคารโดมบริหารจนถึงอาคาร บร.5 2) โครงการอนุรักษ์พลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น - สร้างทางจักรยานเพิ่ม - เปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพ - สนับสนุนรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า 40 คัน - โครงการวิจัย “การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำขยะมูลฝอยภายใน มธ.ศูนย์รังสิต และ สวทช. ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับแก๊สซิไฟเออร์” ร่วมกับ MTEC

  26. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 3) โครงการป้องกันน้ำท่วม 10 โครงการ มูลค่า 236.4 ล้านบาท เช่น ก่อสร้างกำแพงเข็มพืดคอนกรีต เสริมความสูงและความแข็งแรงของเขื่อนคันดิน ฟื้นฟูระบบสาธารณูปโภคต่างๆ หลังน้ำท่วม และเป็นศูนย์พักพิงชั่วคราว ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย 7,000 คน ในปี 2554 4) ก่อสร้าง Community Mall แทนโรงอาหารกลาง 5) ปรับปรุงอาคาร ห้องเรียน ห้องน้ำ และปีงบประมาณ 2556 จะปรับปรุงอาคารยิมเนเซียม 2 มธ.ศูนย์รังสิต เป็นอาคารอเนกประสงค์ ปรับปรุงห้องที่ SC

  27. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 6) ปรับปรุงการคมนาคม ขนส่ง เช่น - ถนน 3 สาย โดยขยายถนน 2 เส้น คือ ถนนปรีดี พนมยงค์ และถนนป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพิ่มอีก 1 ช่องทาง เป็นช่องทางจักรยาน - ขยายและราดยางใหม่บนถนนบัณฑิตอาสา - เปิดจุดเข้าทางคู่ขนานจุดใหม่ถนนพหลโยธิน หน้ามหาวิทยาลัย ด้วยงบ 2.3 ล้าน จากจังหวัดปทุมธานี

  28. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 7) โครงการด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เช่น เพิ่มแสงสว่างตามทางสัญจรตลอดทุกเส้นทาง ปรับปรุงระบบกล้องวงจรปิด 8) เพิ่มรถ NGV อีก 6 คัน จากเดิม 25 คัน รวมเป็น 31 คัน 9) เป็นแกนนำโครงการ 1 จังหวัด 1 มหาวิทยาลัย 10) โครงการปรับปรุงในส่วนสำนักงานจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  29. โครงการปรับปรุงในส่วนของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การปรับปรุงทางกายภาพ 1 โครงการปรับปรุงอาคารหอพักในระยะที่ 1 จำนวน 4 อาคาร ประกอบด้วย - อาคารคู่โดม 1 และ2 ปรับปรุงเป็น Service Apartment ทั้ง 2 อาคาร รายละเอียดการปรับปรุง ติดตั้งห้องน้ำในห้องพัก เปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์ ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ติดตั้งเครื่องทำน้ำอุ่น ปรับปรุงทาสีใหม่ในห้องพัก ติดตั้งระบบ Key Tag เพิ่มทีวีตู้เย็น ปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง ติดตั้งลิฟต์โดยสาร ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยรอบ สร้างระบบบำบัดใหม่ ปรับปรุงระบบไฟฟ้า - อาคารเคียงโดม 6 และ7 ปรับปรุงใหม่ เป็นอาคารหอพักนักศึกษา ทั้ง 2 อาคาร รายละเอียดการปรับปรุง ติดตั้งห้องน้ำในห้องพัก เปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์ ติดตั้งเครื่องทำน้ำอุ่น ปรับปรุงทาสีใหม่ในห้องพัก ปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยรอบ สร้างระบบบำบัดใหม่ ปรับปรุงระบบไฟฟ้า

  30. สภาพหอพักในปัจจุบันอาคารคู่โดม1 และคู่โดม2 ปรับปรุงเป็น Service Apartment ใช้งบประมาณ 100 ล้านบาท

  31. 2 โครงการเพิ่มห้องพักให้บุคลากร มธ. ที่รอคิวห้องพัก โดยปรับปรุงห้องพักอาคาร D1 เป็นห้องพักประจำ 120 ห้อง โดยระยะที่1จำนวน 22 ห้อง ภายในเดือนมิถุนายน 2556 และอีก 98 ห้องภายในเดือนพฤศจิกายน 2556 สภาพห้องพักอาคาร D1 ในปัจจุบัน รายละเอียดการปรับปรุง เปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์ ปรับปรุงทาสีใหม่ในห้องพัก ปูพื้นห้องใหม่ งบประมาณระยะที่ 12,200,000 บาทระยะที่ 2 9,800,000 บาท

  32. 3 ปรับปรุงระบบเครื่องเสียงศูนย์ประชุม เพื่อแก้ปัญหาเสียงสะท้อน 4 ล้านบาท

  33. 4 โครงการปรับปรุงกายภาพ ภูมิทัศน์ศูนย์ประชุมฯ 5 ล้านบาท

  34. การเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้พักอาศัยการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้พักอาศัย 1 โครงการทางปรับปรุงและก่อสร้างทางจักรยานในพื้นที่หอพัก

  35. รายละเอียดการปรับปรุง 1ปรับปรุงทาสีทางเดินเดิมที่มีอยู่ 2 ก่อสร้างทางใหม่ สภาพเส้นทางที่จะปรับปรุง ใช้งบประมาณ 1,500,000 บาท

  36. 2 ติดตั้ง เครื่องส่งสัญญาณ Internet ไร้สายทุกชั้น ทุกอาคาร ในหอพัก มธ 9 ล้านบาท

  37. สนับสนุนน้ำดื่มโดม ให้กลุ่มกิจกรรมนักศึกษาและประชาคมธรรมศาสตร์ 72,000 ขวด/ปี

  38. ส่งเงินรายได้ให้มหาวิทยาลัยฯ ปี 2554 จำนวน 24 ล้านบาท( รวม 280 ล้านบาท)

  39. สรุปโครงการหลัก และงบประมาณ

  40. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) ศูนย์พัทยา เป็นศูนย์ฝึกอบรมและการศึกษาด้านนวัตกรรม การปกครองท้องถิ่น และเทคโนโลยี 1) โครงการอบรม 5 เรื่อง ได้แก่ - หน้าที่พลเมืองกับการแก้ปัญหาประชาธิปไตยไทย - หน้าที่พลเมืองกับการแก้วิกฤตสังคมไทย - บทบาทอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยุคใหม่ - สร้างความรู้ กฎหมายที่ดินสาธารณประโยชน์และการผังเมือง - วิสัยทัศน์และอำนาจใหม่ของสมาชิกสภาท้องถิ่น 2) ให้ความรู้ในเรื่อง ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี ชีวิตปลอดภัยในการทำงาน กินอยู่อย่างไรให้ชีวิตยืนยาว

  41. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) ศูนย์ลำปาง เป็นศูนย์ความรู้บูรณาการของจังหวัดในศาสตร์ที่เป็นลักษณะเฉพาะ ของจังหวัด ด้านสังคมเศรษฐกิจ การเมือง อาชีพสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตผู้คน 1) เปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาการบริหารนโยบายและสวัสดิการสังคม ในปีการศึกษา 2555 2) โครงการ 1 จังหวัด 1 มหาวิทยาลัย” การจับคู่การพัฒนาระหว่าง มธ.ศูนย์ลำปาง กับอำเภอเมืองลำปาง

  42. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 3) โครงการอบรม 4 โครงการ - อบรมนักเรียนมัธยมเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย - อบรมครูแนะแนวในภาคเหนือ - โครงการค่ายประชาธิปไตยสู่ชุมชน - โครงการ “ศาลปกครองพบประชาชนและเสริมสร้างเครือข่ายสื่อมวลชน” 4) พัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้วัสดุเศษหิน ได้รับงบพัฒนา จ. ลำปาง 1.6 ล้านบาท จนนำไปสู่การจดสิทธิบัตร

  43. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 6. เพิ่มพูนคุณภาพชีวิตและสร้างความคึกคักทางวิชาการให้ประชาคมในทุกศูนย์ (ต่อ) 5) จัดการประชุมนานาชาติ เรื่อง University - Community Engagement และจัดสร้างห้อง The ASEAN + 1 Cultural Study Center 6) จัดประชุมร่วมกับประชาคมลำปาง เกี่ยวกับ ทิศทางการพัฒนา มธ. ศูนย์ลำปาง ( 8 ธ.ค. 55) 7) พัฒนาด้านกายภาพ เช่น หอพักนักศึกษา และบุคลากร ขยายเครือข่ายไร้สายไปยังหอพัก สภาพแวดล้อมให้สะดวกแก่การเรียนรู้ เพิ่มห้องอ่านหนังสือ ปรับปรุงสนามกีฬา ภูมิทัศน์หน้าหอพักลานกิจกรรม จัดโครงการ“ธรรมศาสตร์สุขภาพดี - Healthy Campus”

  44. แนวทางการบริหาร : ด้านสังคม • 7. สร้างสังคมธรรมศาสตร์ให้เป็นแบบอย่างด้านธรรมาภิบาล ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1) สำรวจความเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8 กลุ่ม และนำผลมาปรับปรุง/พัฒนามหาวิทยาลัย 2) กำหนดเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณแบบมุ่งเป้าและจัดทำงบประมาณตามยุทธศาสตร์ 3) Green University 4) ลดปัญหาโลกร้อน ใช้จักรยาน เปลี่ยนหลอดไฟ เปลี่ยนแอร์ แยกขยะก่อนทิ้ง ฯลฯ

  45. แนวทางการบริหาร : ด้านวิชาการ • 8. พลิกฟื้นความโดดเด่นด้านสังคมศาสตร์ 1) เปิดสอนหลักสูตรที่เป็นรากเหง้าของธรรมศาสตร์ คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ เป็นแนวคิดจากหลักสูตร “ธรรมศาสตรบัณฑิต” ในอดีต เปิดรับนักศึกษา ในปีการศึกษา 2556 2) หลักสูตรนานาชาติใหม่ ด้านสังคมศาสตร์ 3 หลักสูตร คือ - อาเซียนศึกษา - อินเดียศึกษา - จีนศึกษา

  46. แนวทางการบริหาร : ด้านวิชาการ • 8. พลิกฟื้นความโดดเด่นด้านสังคมศาสตร์ (ต่อ) 3) หลักสูตรใหม่ระดับบัณฑิตศึกษา ด้านสังคมศาสตร์ที่เน้นการวิจัย 8 หลักสูตร ปริญญาโท 1. นโยบายและการบริหารเทคโนโลยี 2. อาเซียนศึกษา (นานาชาติ) 3. กฎหมายมหาชน 4. นิติเศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ 5. วัฒนธรรมจีนศึกษา 6. การวิจัยทางสังคม 7. การบริหารและนโยบายสวัสดิการ ปริญญาเอก 8. การสอนภาษาอังกฤษ

  47. แนวทางการบริหาร : ด้านวิชาการ • 9. ขับเคลื่อนความก้าวหน้าในศาสตร์ประยุกต์ของสายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1) จัดตั้งหน่วยงานใหม่ 3 หน่วยงาน - ศูนย์ค้นคว้าพัฒนายา เริ่มดำเนินการปี 2556 - อาคารศูนย์สัตว์ทดลอง เริ่มดำเนินการปี 2556 - ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อการวิจัยขั้นสูง เริ่มดำเนินการปี 2557

  48. แนวทางการบริหาร : ด้านวิชาการ • 9. ขับเคลื่อนความก้าวหน้าในศาสตร์ประยุกต์ของสายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ต่อ) 2) จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อการวิจัย 5 ศูนย์ - ด้านวัสดุศาสตร์การก่อสร้างและเทคโนโลยีการบำรุงรักษา - ด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ - ด้านวิจัยโรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจร - ด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ - ด้านการใช้ประโยชน์จากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในโรงงานวิศวกรรม

  49. แนวทางการบริหาร : ด้านวิชาการ • 10. ผลักดันการปฏิบัติงานในสายวิทยาศาสตร์สุขภาพสู่ชุมชนโดยรอบและในกลุ่มขาดโอกาส พัฒนาโรงพยาบาล โดยขยายเป็น 700 เตียง ภายในในปี 2556 และ 1) ปรับเปลี่ยนจากเพียงการรักษาไปสู่การค้นคว้าและวิจัย 2) ยกระดับความเป็นเลิศ ให้มีการจัดการที่ดีตามแนวทาง TQA (Total Quality Management) 3) ตั้งศูนย์รังสีรักษาและซื้อเครื่องมือมูลค่า 400 ล้านบาท 4) พัฒนาด้านกายภาพ ได้แก่ - ปรับปรุงห้องผ่าตัดเล็กที่ทันสมัย 50 ล้านบาท - ก่อสร้างอาคารกิตติวัฒนา ระยะ 3 เริ่มปี 2556 5) พัฒนาไปสู่การเป็น Educational Hub และ Medical Hub เพื่อบริการภาคกลางตอนล่าง 49

  50. ผลการปฏิบัติงานที่นอกเหนือจากเสนอสภามหาวิทยาลัยผลการปฏิบัติงานที่นอกเหนือจากเสนอสภามหาวิทยาลัย 1. เงินฟื้นฟูความเสียหายจากอุทกภัย 1) สินไหมทดแทน 1,300 ล้านบาท 2) จากรัฐบาล 728 ล้านบาท 2. เงินป้องกันอุทกภัย (ทำเขื่อน) จากรัฐบาล 172 ล้านบาท 3. ฟื้นฟูระบบสาธารณูปโภค หลังอุทกภัยให้กลับมาใช้งานได้อย่างรวดเร็ว และมีคุณภาพสูงขึ้น

More Related