1 / 47

การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และค่ากลาง( Norm) พัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตำบล

การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และค่ากลาง( Norm) พัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตำบล. โดย อมร นนทสุต www.amornsrm.net. 3 ทางเลือกในการบริหารจัดการด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. ชุดงาน บูรณา การ. กิจกรรมสำคัญ. งานสำคัญ. ประชาชนจัดการตนเองได้.

juana
Download Presentation

การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และค่ากลาง( Norm) พัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตำบล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และค่ากลาง(Norm) พัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตำบล โดย อมร นนทสุต www.amornsrm.net

  2. 3 ทางเลือกในการบริหารจัดการด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ชุดงานบูรณาการ กิจกรรมสำคัญ งานสำคัญ ประชาชนจัดการตนเองได้ ตั้งต้นด้วยค่ากลางความสำเร็จกำหนดโดยเขต ตั้งต้นด้วยค่ากลางกำหนดโดยจังหวัด ตั้งต้นอย่างเต็มรูปแบบ

  3. ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการเพื่อนำงานไปสู่จุดหมายปลายทางใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการเพื่อนำงานไปสู่จุดหมายปลายทาง S L M ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน

  4. กำหนดกิจกรรมสำคัญในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กำหนดกิจกรรมสำคัญในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ในการจัดการค่ากลาง

  5. จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พบว่า “แผนงาน/โครงการที่ดี มีความสำเร็จจะมีกิจกรรมเป็นองค์ประกอบ 6 กิจกรรมสำคัญ” งาน 1 งาน 2 งาน 3-5 หาค่ากลางของงานใน 6กิจกรรม เพื่อยกระดับแผนงาน/โครงการ (บรรจุลงในตาราง 11 ช่อง)

  6. ค้นหาค่ากลางของงานในโครงการแล้วกำหนดงานสนับสนุนค้นหาค่ากลางของงานในโครงการแล้วกำหนดงานสนับสนุน กิจกรรมในโครงการ งานโครงการ งานสนับสนุน

  7. ค้นหาค่ากลางของงานในโครงการแล้วกำหนดงานสนับสนุนค้นหาค่ากลางของงานในโครงการแล้วกำหนดงานสนับสนุน งานโครงการ กิจกรรมในโครงการ กิจกรรมที่ เขต/ภาคสนับสนุนและหน่วยสนับสนุนอื่นๆ

  8. การสนับสนุนโครงการของพื้นที่โดยหน่วยงานระดับเขต/ภาคและหน่วยสนับสนุนอื่นๆการสนับสนุนโครงการของพื้นที่โดยหน่วยงานระดับเขต/ภาคและหน่วยสนับสนุนอื่นๆ กิจกรรมของโครงการในพื้นที่ตาม SLM กิจกรรมของหน่วยสนับสนุน งาน 1 งาน 2 งาน 3-5 หาค่ากลางของงานใน 6กิจกรรม เพื่อยกระดับแผนงาน/โครงการของทั้งหน่วยปฏิบัติและหน่วยสนับสนุน

  9. ค่ากลางที่คาดหวัง ระดับเขต/จังหวัด กิจกรรมของโครงการในพื้นที่ตาม SLM กิจกรรมของหน่วยสนับสนุน งาน 1 งาน 2 งาน 3-5 หาค่ากลางของงานใน 6กิจกรรม เพื่อยกระดับแผนงาน/โครงการของทั้งหน่วยปฏิบัติและหน่วยสนับสนุน

  10. วิเคราะห์งานที่ประกอบกันขึ้นเป็นกิจกรรมสำคัญวิเคราะห์งานที่ประกอบกันขึ้นเป็นกิจกรรมสำคัญ คุณภาพของโครงการขึ้นกับคุณลักษณะและองค์ประกอบของงาน

  11. ค่ากลางคืออะไร?

  12. ตัวอย่างการหาค่ากลางเพื่อนำไปยกระดับแผนงานโครงการตัวอย่างการหาค่ากลางเพื่อนำไปยกระดับแผนงานโครงการ ประเด็นปัญหาสุขภาพ กิจกรรม งาน เบาหวาน 1.การใช้SRMและค่ากลาง 2.การเฝ้าระวัง/คัดกรอง 3.การใช้มาตรการทางสังคม 4.การปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล 5.การจัดการกลุ่มเป้าหมายและการจัดการสภาวะแวดล้อม 6. การสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ………. ………. ………. ………. นำมาจากการแจงนับจากแบบสำรวจ ………. ………. ………. ………. …(3-5 งาน) …….….…. ………..…. ……..……. ……………

  13. ปฏิบัติการหาค่ากลางประเด็นปัญหา...(ความดัน/เบาหวาน).... ปฏิบัติการหาค่ากลางประเด็นปัญหา...(ความดัน/เบาหวาน)....

  14. ประเภทกิจกรรมของหน่วยปฏิบัติและหน่วยสนับสนุนประเภทกิจกรรมของหน่วยปฏิบัติและหน่วยสนับสนุน กลุ่ม 1 หน่วยปฏิบัติ(จนท.ตำบล/อปท./อสม./แกนนำชุมชน) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2

  15. การหาความถี่ของงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง กิจกรรมการเฝ้าระวัง คัดกรอง

  16. การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการการกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ 100% กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของโครงการ ได้แก่งานที่ 6 7 8 9 65 50 0 งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 • การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด • วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ • เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไปหามาก

  17. ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลางข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง • งานที่อยู่เหนือเส้น 65% (เส้นค่ากลาง) ต้องมีไม่น้อยกว่า 3 งาน (ประมาณ3-5) งานเหล่านี้มีโอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง • งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ยิ่งดี • งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต • พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และงานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม • บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบภายหลังเมื่อมีการประเมินผล

  18. ตัวอย่างค่ากลาง

  19. ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) (ตาราง 11 ช่อง)

  20. ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) (ตาราง 11 ช่อง)

  21. ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ

  22. ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ

  23. ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ บรรจุงานที่คัดเลือกเป็นค่ากลางลงในช่องต่างๆให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง

  24. ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ งานแยก งานเพิ่ม

  25. ตัวอย่าง การบูรณาการงานเฝ้าระวังในประเด็นต่างๆ

  26. การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการเมื่อใช้ค่ากลาง จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รร.นวัตกรรมฯทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง โครงการ สร้าง รร.นวัตกรรมฯ 5 1 2 4 ระดับ 3 การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง

  27. การกำหนดค่ากลางของโครงการ ระดับ 1 2 3 4 5 • 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ(ก)ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปในจังหวัด • 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ • 3. หากโครงการ(ก)ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่ากลาง ให้คะแนน = 3 • 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด • 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ

  28. การพัฒนากระบวนการจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปรับกระบวนการด้วยโครงการกิจกรรมสำคัญทั้ง 7 ใช้การจัดการค่ากลางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  29. สรุป การใช้จัดการค่ากลางร่วมกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  30. การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด

  31. การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด

  32. ขั้นตอนของการพัฒนาหลังการกำหนดค่ากลาง นำค่ากลางเข้าตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการสำหรับหลายประเด็น จังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น/ตำบล

  33. กระบวนการบริหารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลางกระบวนการบริหารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง ประกาศค่ากลาง กำหนดค่ากลาง บริหารแผนงาน/วิชาการ/ ติดตาม/ประเมิน บูรณาการงาน ติดตาม KPI สนับสนุน ประเมินผล สร้างแผนงาน/โครงการ เปิดงาน ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม กองทุนฯตำบล

  34. ขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล บุคคล การสื่อสารทางเดียว การสื่อสารสองทาง ให้โอกาสทดลอง คาดล่วงหน้า เตรียมพร้อม ให้โอกาสปฏิบัติซ้ำๆ กิจกรรม • รับรู้ • สนใจ • ใคร่ทดลอง • ก้าวพ้นอุปสรรค • เกิดค่านิยมใหม่

  35. สรุปคำแนะนำ • เนื่องจากกองทุนฯตำบลได้ผลิตโครงการต่างๆแล้วเป็นจำนวนมาก จึงควรจัดการประชุมกรรมการกองทุนฯเพื่อรวบรวมข้อมูลของงานที่ทำอยู่ จากนั้นจึงกำหนดค่ากลางของโครงการสำคัญๆเป็นรายจังหวัด • ค่ากลางของโครงการจะใช้ร่วมกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ระหว่าง สสจ. สปสช. อปท. เพื่อปรับทิศทางของโครงการสุขภาพสำคัญๆ อันจะยังผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ • ค่ากลางสามารถใช้จัดระดับแผนงาน/โครงการ ซึ่งจะช่วยให้หน่วยงานต่างๆทราบสถานะทางการพัฒนาและกำหนดทิศทางการพัฒนาแผนงาน/โครงการได้ด้วยตนเอง • ค่ากลางมีประโยชน์ในการจัดระบบการเรียนการสอนของโรงเรียนนวัตกรรมฯ ด้วย • ค่ากลางใช้เป็น Benchmark ในระบบติดตาม ประเมินผล และการสร้างนวัตกรรม ทั้งยังเป็นเงื่อนไขในการพิจารณาคำร้องขอการสนับสนุนโครงการ

  36. เชื่อมั่น และ ทำให้เป็นจริง

  37. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  38. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  39. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  40. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  41. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  42. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  43. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  44. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  45. ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)

  46. ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.amornsrm.net ขอขอบคุณ

More Related