1 / 24

การจัดการโรคพืชเพื่อมะม่วงคุณภาพดี

รศ.นิพนธ์ วิสารทานนท์ 2551 เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การจัดการโรคพืชเพื่อมะม่วงคุณภาพดี” การสัมมนา Just in time มะม่วงคุณภาพสู่ตลาดญี่ปุ่น 2-3 ธันวาคม 2511 ณ โรงแรมกรีนนารี เขาใหญ่ อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา. การจัดการโรคพืชเพื่อมะม่วงคุณภาพดี. รศ.นิพนธ์ วิสารทานนท์

jude
Download Presentation

การจัดการโรคพืชเพื่อมะม่วงคุณภาพดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รศ.นิพนธ์ วิสารทานนท์ 2551 เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การจัดการโรคพืชเพื่อมะม่วงคุณภาพดี” การสัมมนา Just in time มะม่วงคุณภาพสู่ตลาดญี่ปุ่น 2-3 ธันวาคม 2511 ณ โรงแรมกรีนนารี เขาใหญ่ อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา การจัดการโรคพืชเพื่อมะม่วงคุณภาพดี รศ.นิพนธ์ วิสารทานนท์ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร 0-2579-1026 แฟกซ์ 0-2579-9552 E-mail : agrnpv@ku.ac.th

  2. สาเหตุของโรคไม้ผลและการแพร่ระบาดสาเหตุของโรคไม้ผลและการแพร่ระบาด • กลุ่มสาเหตุที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต • กลุ่มสาเหตุที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต

  3. ลักษณะอาการผิดปกติเนื่องจากสาเหตุสิ่งไม่มีชีวิตลักษณะอาการผิดปกติเนื่องจากสาเหตุสิ่งไม่มีชีวิต • - มลภาวะอากาศเป็นพิษ (Air pollution) • - พิษจากสารฆ่าวัชพืช (Herbicide damage) • - ลักษณะอาการขาดแร่ธาตุอาหาร • (Mineral deficiencies) • - สภาพดินเค็ม (Saline soil) • - อากาศหนาวเย็นจัดถึงจุดเยือกแข็ง (Frost injury) • - ถูกแดดเผา (sun burned) • - สารเร่งการเจริญเติบโต (Plant growth regulator)

  4. โรคที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและไม่ได้เกิดจากเชื้อ Black tip ขอบใบไหม้ อาการใด้รับพิษจากสารฆ่าวัชพืช อาการเป็นเห็บ Yeasty fruit rot ผลแตก ผลเป็นหมัน อาการผลร่วง อาการขาดธาตุพอแตสเซี่ยม อาการขาดธาตุสังกะสี อาการขาดธาตุแมกนีเซี่ยม

  5. ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อ ขาดแร่ธาตุโบรอน จุดจากสารฆ่าวัชพืช พิษจาก 2,4-D ขาดแร่ธาตุแมกนีเซียม ได้รับน้ำมาก แผลจากหนอนแมลงวันเจาะใบ ได้รับสารพาโคลมากเกินไป ดินเค็ม

  6. สาเหตุของโรคจากสิ่งที่มีชีวิตสาเหตุของโรคจากสิ่งที่มีชีวิต • - บักเตรีหรือแบคทีเรีย (Bacteria) • - เชื้อรา (Fungi) • - ไส้เดือนฝอย (Nematodes) • - เชื้อวิสาหรือไวรัส(Virus)และไวรอยด์ (Viroid) • - ไฟโตพลาสมา (Phytoplasma,Mycoplasma) • - สาหร่าย (Parasitic algae) • ลักษณะอาการคล้ายโรค • - พืชชั้นสูง เช่น กาฝาก(Mistletoe) • ฝอยทอง (Dodder)แมลง ไรแดง (แมงมุมแดง)

  7. ข้อแนะนำในการควบคุมโรคแต่ละกลุ่มสาเหตุข้อแนะนำในการควบคุมโรคแต่ละกลุ่มสาเหตุ • - สาเหตุจากไวรอยด์ และไวรัส - ใช้พันธุ์ที่ปลอดโรค • ทำลายต้นที่เป็นโรค ควบคุมแมลง • - สาเหตุจากไฟโตพลาสมา และแบคทีเรีย • ใช้พันธุ์ที่ปลอดโรค ควบคุมแมลง ใช้สารปฏิชีวนะ • สารประเภททองแดง • - สาเหตุจากเชื้อรา - ลดความชุ่มชื้น ทำลายส่วนของพืชที่เป็นโรค • ใช้สารเคมีควบคุมเชื้อราเฉพาะกลุ่ม ชีวินทรีย์ เคมี • - สาเหตุจากสาหร่าย - ลดความชุ่มชื้น ใช้สารประเภททองแดง • - สาเหตุจากไส้เดือนฝอย - ปรับแต่งดิน ผึ่งแดด • ใช้อินทรีย์วัตถุ สารเคมี

  8. เปรียบเทียบขนาดเชื้อโรคกับเซลล์พืชเปรียบเทียบขนาดเชื้อโรคกับเซลล์พืช ช่อดอกเน่า ไส้เดือนฝอย ผลเน่า วิสา ใบจุด ใบใหม้ เชื้อรา ไฟโตพลาสมา โคนเป็นปม บักเตรี รากเน่า เซลล์พืช ต้นพืชปกติ (ซีกซ้าย) และเป็นโรค (ขวา)

  9. วิธีการควบคุมโรคพืช • ควบคุมโรคพืชโดยการเขตกรรม (Cultural control) • -ทำความสะอาดบริเวณพื้นที่ปลูก • - ทำลายพืชอาศัยของเชื้อและกำจัดวัชพืช • - ปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อลดการขยายพันธุ์ของเชื้อ • - ปรับปรุงสภาพทางฟิสิกส์ และเคมีของดิน • - เพิ่มเติมแร่ธาตุอาหารในดินในสภาพสมดุลย์ต่อพืช • - ฆ่าเชื้อในดินโดยวิธีทางฟิสิกส์ เช่น ใช้ไอน้ำร้อน • - ใช้แสงแดดฆ่าเชื้อ (soil solarization) • - ใช้สารเคมีรมฆ่าเชื้อในดิน

  10. วิธีการควบคุมโรคพืช (ต่อ) • - ใส่อินทรีย์วัตถุลงดิน เพื่อเพิ่มแร่ธาตุอาหาร • ปรับความร่วนของดินและเพิ่มเชื้อจุลินทรีย์ลงดิน • ใช้วิธีทางชีววิธีเพื่อเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ทีมีประโยชน์ • เช่นใส่ปุ๋ยหมักลงในหลุมปลูก (Virgin soil technique) • - ป้องกันเชื้อโรคด้วยการใช้สารควบคุมเชื้อโรคในระยะ • ก่อนและหลังเก็บเกี่ยว • - ใช้วิธีการรักษาและฆ่าเชื้อเมื่อพืชเป็นโรคแล้ว • - ควบคุมแมลงที่อาจเป็นแมลงพาหะโรค • - เก็บเกี่ยวผลผลิต บรรจุ และขนส่งด้วยความระมัด • ระวังและปฏิบัติดามกรรมวิธีเฉพาะพืช

  11. ปัจจัยพึงพิจารณาและควรปฎิบัติในการปลูกมะม่วงปัจจัยพึงพิจารณาและควรปฎิบัติในการปลูกมะม่วง - สภาพดินปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของมะม่วง - มีความร่วนซุย มีอินทรีย์วัตถุ ไม่แน่นเหนียว มีการระบายน้ำดี ไม่มีสภาพความเป็นกรด – ด่างมากเกินไป ทำให้มีความต้านทานต่อโรคพืชได้ในระดับหนึ่ง - สัดส่วนของปุ๋ยที่ให้แร่ธาตุหลักและธาตุรองต่อระยะพืช - ดินมีน้ำหรือความชื้นที่ต่อเนื่องมากเกินไป - แปลงปลูกมะม่วงในที่ลุ่มมักมีการยกร่องเนื่องจากมีระดับน้ำในดินสูง - น้ำและแร่ธาตุบางชนิดมากเกินระยะพืชทีต้องการ

  12. - ลำต้นมะม่วงแตกกิ่งก้านหนาแน่น เป็นที่สะสมของโรคและแมลง - การตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่งช่วยให้ต้นมะม่วงจัดระบบการใช้แร่ ธาตุอาหารที่ดีต่อการพัฒนาผลมะม่วง - แสงแดดส่องถึงทำให้บรรยากาศในพุ่มแห้ง ฆ่าเชื้อโรคได้ด้วย ทรงพุ่มที่โปร่งทำให้ศัตรูธรรมชาติ เช่นนกช่วยกำจัดแมลงได้ มากขึ้น - เป็นวิธีที่ลดการใช้สารเคมีได้ดี - โรคและแมลงถูกพัดผ่านไปทางช่องที่โปร่งในพุ่มต้นที่ตัดแต่ง

  13. - ใช้วิธีป้องกันด้วยสารชนิดที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งมีชีวิต ในสภาพแวดล้อม - การใช้สารธรรมชาติที่ได้จากการหมักพืชหรือสัตว์ เชื้อจุลินทรีย์หลายชนิดที่เป็นเชื้อรา แบคทีเรีย ยีสต์ และโปรโตซัว ซึ่งมีอยู่ในน้ำหมักสามารถสร้างประชากรได้รวดเร็วหนาแน่นใช้ฉีดพ่นปกป้องผิวพืชจากเชื้อโรคหรืออาจสร้างสารปฎิชีวนะฆ่าเชื้อโรค - มีเชื้อจุลินทรีย์ทีเป็นเชื้อราและแบคทีเรียหลายชนิดที่ถูกคัดเลือกจากธรรมชาติและนำไปใช้เชิงการค้าที่ให้ประสิทธิภาพสูงและปลอดภัย - การใช้ปุ๋ยคอกร่วมกับเศษพืชใช้ป้องกันโรคพืชที่แพร่ระบาดทางดิน

  14. ชนิดสารที่ใช้ควบคุมโรคพืชชนิดสารที่ใช้ควบคุมโรคพืช ใช้ควบคุมเชื้อรา (Fungicide) บักเตรี (Bactericide) ไส้เดือนฝอย (Nematicide) สาหร่าย (Algacide) กลุ่มอนินทรีย์สาร (Inorganics) เช่น คอปเปอร์ ซัลเฟอร์ กลุ่มอินทรีย์สารโลหะหนัก (Metal organics) เช่น ฟอสเอ็ทธิลอลูมินัม กลุ่มสารปฏิชีวนะและชีวินทรีย์ (Antibiotics & Biofungicides) เช่น สเตร็ปโตมัยซิน กลุ่มคาร์บาเมท (Carbamates) เช่น แมนโคเซ็บ กลุ่มอินทรีย์สารไม่แยกประเภท (Miscellaneous organics) เช่น คาร์เบนดาซิม

  15. สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคพืชสารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคพืช สารชนิดไม่ดูดซึม (contact) และดูดซึม (Systemic) มีประสิทธิภาพสูง อาจมีปัญหามลพิษต่อคนและสัตว์ มีผลข้างเคียงทำลายจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ ก่อให้เกิดการดื้อยาเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง ใช้สารเคมีต้องใช้ให้ถูกชนิดกับโรคที่ได้วิเคราะห์ ปริมาณการใช้ในระยะที่พืชเป็นโรคให้เหมาะสม ควรทำการศึกษาก่อนการใช้ ใช้เท่าที่จำเป็น ใช้เป็นครั้งคราว อ่านรายละเอียดข้อบ่งใช้ การใช้สารจับใบเสริมประสิทธิภาพ

  16. ผลงานที่วิจัยควบคุมโรคแอนแทรคโนสเน่ามะม่วงผลงานที่วิจัยควบคุมโรคแอนแทรคโนสเน่ามะม่วง - พ่นสารเคมีระยะก่อนเก็บเกี่ยว 7 ครั้ง พบว่าสาร benomyl ให้ผลดีที่สุด - พ่นสารเคมีระยะก่อนเก็บเกี่ยว 7 ครั้งและจุ่มผลในสารชนิดเดิม สาร prochloraz ให้ผลดีที่สุด - จุ่มผลมะม่วงในน้ำร้อนที่ 50 ซ ผสม benomyl หรือ prochloraz ให้ผลดีกว่าใช้น้ำเย็น - รมผลมะม่วงด้วย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 30 % นาน 48 ชม ลดความรุนแรงของโรคแอนแทรคโนส - สาร fulvic เมื่อใช้ร่วมกับสารป้องกันกำจัดเชื้อราสามารถลดความรุนแรงของโรคและเพิ่มประสิทธิภาพสารเคมี

  17. โรคโคนเน่า (Collar rot) สาเหตุ เชื้อรา Sclerotium rolfsii ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกันกำจัด

  18. โรคแอนแทรกโนส (Anthracnose) สาเหตุ เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ลักษณะอาการ • ระยะต้นกล้า • ระยะต้นโต • ระยะแทงช่อดอก • ระยะติดผล การแพร่ระบาด การป้องกันกำจัด

  19. โรคราแป้ง (Powdery mildew) • สาเหตุ เชื้อรา Oidium mangiferae • ลักษณะ • การแพร่ • การป้องกันกำจัด

  20. โรคราดำ (Black mildew, Sooty mold) สาเหตุ เชื้อรา Meliola mangiferae Earle ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกันกำจัด

  21. โรคใบจุดสาหร่าย (Algal leaf spot, Red rust) สาเหตุ สาหร่าย Cephaleuros virescens ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกันกำจัด

  22. โรคราปื้นดำบนผล (fruit sooty blotch) สาเหตุ เชื้อราหลายชนิด เช่นAlternaria sp.,Cladosporium sp., Nigrospora sp., Pestalotia sp. ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกันกำจัด

  23. การควบคุมโรคบนผลมะม่วงภายหลังการเก็บเกี่ยวการควบคุมโรคบนผลมะม่วงภายหลังการเก็บเกี่ยว ต้องป้องกันตั้งแต่ระยะก่อนเก็บเกี่ยว ระมัดระวังไม่ให้ผลชอกช้ำ โดยใช้วิธีทางฟิสิกส์ เช่น จุ่มในน้ำร้อน 50-52 ซ 5-10 นาที เก็บในสภาพควบคุมบรรยากาศ การรมด้วยก๊ซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อชักนำสารต่อต้านเชื้อโรค ที่เกิดภายหลังเก็บเกี่ยว

  24. เอกสารวิชาการทางด้านโรคไม้ผลเอกสารวิชาการทางด้านโรคไม้ผล และการป้องกันกำจัด โดย รศ.นิพนธ์ วิสารทานนท์ ติดต่อรับได้ที่ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โทร. 02579-1026 และมี โปสเตอร์โรคของไม้ผล ชนิดต่างฯ ๑๒ เรื่อง

More Related