1 / 38

สรุปผลการตรวจตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ

สรุปผลการตรวจตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ. ส่วนควบคุมโรงฆ่าสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์. รายละเอียดการดำเนินงาน. กิจกรรมที่ 7 หมายถึง กิจกรรมตรวจสอบโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ. กิจกรรมที่ 7.1 หมายถึง กิจกรรมพัฒนาโรงฆ่าสัตว์และสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์. เป้าหมายการดำเนินงาน.

Download Presentation

สรุปผลการตรวจตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการตรวจตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการสรุปผลการตรวจตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ ส่วนควบคุมโรงฆ่าสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

  2. รายละเอียดการดำเนินงานรายละเอียดการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 7 หมายถึง กิจกรรมตรวจสอบโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ กิจกรรมที่ 7.1 หมายถึง กิจกรรมพัฒนาโรงฆ่าสัตว์และสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์

  3. เป้าหมายการดำเนินงาน

  4. เกณฑ์การตรวจ

  5. ผลการดำเนินงาน

  6. รายการข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์รายการข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ • สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบางแห่ง กรอกข้อมูลใบนำส่งตัวอย่างไม่ครบถ้วน • ห้องปฏิบัติการบางแห่งจัดเก็บข้อมูลไม่ครบถ้วน สถานที่เก็บตัวอย่าง สถานที่เก็บตัวอย่าง ชนิดเนื้อสัตว์ วันที่เก็บตัวอย่าง ชื่อ-สกุลเจ้าของ

  7. ปริมาณตัวอย่างส่งตรวจปริมาณตัวอย่างส่งตรวจ โรงฆ่าสัตว์ที่มีใบอนุญาตฆจส. 2 สิ้นปี 2553 มีจำนวน .... แห่ง กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 7.1 โรงฆ่าสัตว์ที่เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 190 แห่ง

  8. ผลการตรวจยาปฏิชีวนะตกค้างผลการตรวจยาปฏิชีวนะตกค้าง 3 2 4 5 1

  9. ผลการตรวจยาปฏิชีวนะตกค้าง(รายเขต)ผลการตรวจยาปฏิชีวนะตกค้าง(รายเขต) 2 3 1 3 3 2 4 2 1 1 1

  10. ผลการตรวจยาปฏิชีวนะตกค้าง(รายจังหวัด)ผลการตรวจยาปฏิชีวนะตกค้าง(รายจังหวัด)

  11. Staphylococcus aureus 1 4 3 5 2

  12. Staphylococcus aureus(รายเขต) 2 1 3 4 1 1 1 4 2 3

  13. Staphylococcus aureus(รายจังหวัด)

  14. Staphylococcus aureus(ตามสถานที่เก็บตัวอย่าง)

  15. Salmonella spp. 1 3 4 5 2

  16. Salmonella spp. (รายเขต) 5 4 4 1 6 4 3 2 1 3 2 2 5 3 1 1 1

  17. Salmonella spp. (รายจังหวัด)

  18. Salmonella spp. (ตามสถานที่เก็บตัวอย่าง)

  19. Total Bacteria Count 1 4 3 5 2

  20. Total Bacteria Count (รายเขต) 5 2 4 1 1 2 2 3 1 1 1

  21. Total Bacteria Count (รายจังหวัด)

  22. Total Bacteria Count (ตามสถานที่เก็บตัวอย่าง)

  23. Coliform 1 3 5 4 2

  24. Coliform (รายเขต) 3 3 2 2 1 1 4 1 2 5 1 1

  25. Coliform (รายจังหวัด)

  26. Enterococcus 1 4 3 5 2

  27. Enterococcus (รายเขต) 3 1 2 2 1 1 2 4 1 1 3 3

  28. Enterococcus (รายจังหวัด)

  29. E.coli 1 2 4 5 3

  30. E.coli(รายเขต) 3 1 2 3 1 2 3 2 1 4 4 1 1

  31. E.coli(รายจังหวัด)

  32. สรุปและวิจารณ์

  33. การเก็บตัวอย่างซ้ำ • การเก็บตัวอย่างชนิดเดียวกัน สถานที่เดียวกัน วันเดียวกัน มากกว่า ๑ ตัวอย่าง โดยหากวิเคราะห์เฉพาะข้อมูลที่มีการเก็บซ้ำมากกว่า ๑๐ ตัวอย่างขึ้นไป จากสถานที่เก็บตัวอย่างเดียวกัน และเก็บในวันเดียวกัน พบว่ามีจำนวนตัวอย่างมากกว่า ๑,๔๐๐ ตัวอย่างหรือมากกว่า ๑๒% ซึ่งจำนวนตัวอย่างดังกล่าวไม่สะท้อนถึงสภาวะสุขลักษณะของเนื้อสัตว์ที่บริโภคภายในประเทศ ?

  34. การกรอกข้อมูลใบนำส่งตัวอย่างการกรอกข้อมูลใบนำส่งตัวอย่าง • สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบางแห่งกรอกข้อมูลไม่ครบถ้วน นอกจากนี้ข้อมูลบางอย่างที่กรอกนั้นไม่ถูกต้อง ทั้งนี้อาจเนื่องจากความเข้าใจในความหมายของหัวข้อ เช่น การกรอกที่อยู่ของสถานที่เก็บตัวอย่าง แต่มีการกรอกข้อมูลสถานที่ที่มีการเคลื่อนย้ายสัตว์จากต้นทางตามใบอนุญาตเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ เป็นต้น

  35. ระบบการจัดเก็บข้อมูล • ผลการตรวจตัวอย่างของห้องปฏิบัติการทั้งในส่วนของศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ทุกแห่ง และสำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ ยังขาดการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเดียวกัน และไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการวิเคราะห์ในภาพรวมของประเทศได้ เช่น การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของวันที่, การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบค่าที่ใช้ในการคำนวน, การจัดเก็บข้อมูลที่มาของตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับหรือบางแห่งนั้นไม่มีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของฐานข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์

  36. เนื้อสัตว์ผ่านเกณฑ์

  37. การตรวจสอบย้อนกลับ • การตรวจสอบย้อนกลับกรณีตัวอย่างให้ผลบวกต่อยาปฏิชีวนะหรือแบคทีเรียปนเปื้อนต่างๆนั้น มีเพียงสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดบางแห่งเท่านั้นที่มีการตรวจสอบย้อนกลับ และจัดทำรายงานเสนอกรมปศุสัตว์ • แบบรายงานที่ใช้สำหรับการรายงานผลการตรวจสอบย้อนกลับนั้น ยังไม่มีแบบรายงานเฉพาะ ทำให้สำนักปศุสัตว์จังหวัดบางแห่งรายงานผลการดำเนินงานผ่านทางแบบรายงานต่างๆ เช่น แบบรายงานของส่วนควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ รายงานเชิงพรรณนา แบบรายงานปค.14 ซึ่งแบบรายงานต่างๆเหล่านั้น บางกรณีไม่สามารถสื่อให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดและการดำเนินการแก้ไขของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดได้

  38. คำถามและข้อเสนอแนะ

More Related