1 / 47

15 มีนาคม 2551 เวลา 13.00-16.00 น ณ ศูนย์มหาวิทยาลัยฯ วิทยาเขตกำแพงแสน

สัมมนา คณะกรรมการดำเนินงาน ฝ่ายจัดการ และสมาชิก สหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 15 มีนาคม 2551 เวลา 13.00-16.00 น ณ ศูนย์มหาวิทยาลัยฯ วิทยาเขตกำแพงแสน. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจัดการการตลาดสำหรับร้านสหกรณ์. โดย อ.ว่าที่ ดร.ชาญชัย เพ็ชรประพันธ์กุล

justis
Download Presentation

15 มีนาคม 2551 เวลา 13.00-16.00 น ณ ศูนย์มหาวิทยาลัยฯ วิทยาเขตกำแพงแสน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัมมนา คณะกรรมการดำเนินงาน ฝ่ายจัดการ และสมาชิกสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำแพงแสน 15 มีนาคม 2551 เวลา 13.00-16.00 น ณ ศูนย์มหาวิทยาลัยฯ วิทยาเขตกำแพงแสน

  2. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการจัดการการตลาดสำหรับร้านสหกรณ์ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการจัดการการตลาดสำหรับร้านสหกรณ์ โดย อ.ว่าที่ ดร.ชาญชัย เพ็ชรประพันธ์กุล ภาควิชาสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รบ.(รัฐประศาสนศาสตร์)จุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย 2522 พบ.ม.(พัฒนาการเศรษฐกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2537 พบ.ม.(บริหารธุรกิจ) สาขาการจัดการ 2538 JDBA (Joint Doctoral Business Administration) สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ 2545 DBA (Management) University of South Australia ประเทศออสเตรเลีย 2551

  3. คุณลักษณะของความแตกต่างของสามระบบเศรษฐกิจคุณลักษณะของความแตกต่างของสามระบบเศรษฐกิจ • ระบบทุนนิยม(Capitalism) = Independence • ระบบสังคมนิยม(Socialism) = Dependence • ระบบสหกรณ์(Co-operativism) =Interdependence

  4. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจและการตลาดความสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจและการตลาด เศรษฐศาสตร์จุลภาค ตลาดปัจจัย การผลิต ที่ดิน ทุน แรงงาน ผู้ประกอบการ ตลาด การเงิน ตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาด ผลผลิต ตลาดสินค้า ตลาดบริการ บริหารธุรกิจ/การตลาด เศรษฐศาสตร์มหภาค

  5. การตลาดสหกรณ์ร้านค้า • สหกรณ์ร้านค้าเป็นสหกรณ์สำหรับผู้บริโภคประเภทหนึ่งซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะจัดหาสินค้าเพื่อการอุปโภคและบริโภคมาขายและให้บริการแก่สมาชิกตามปณิธานปรัชญาและเป้าหมายของสหกรณ์ผู้บริโภค • บุคคลทั้งสามฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับร้าน สหกรณ์จึงควรที่จะเข้าใจและรับทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองและทำงานให้ สหกรณ์ร้านค้าดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผล

  6. ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อสหกรณ์ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อสหกรณ์ ภาครัฐ โครงสร้าง ของ สหกรณ์ และ พฤติกรรม มนุษย์ ในสหกรณ์ พัฒนาการ ของ ขบวนการ สหกรณ์ ภาค เอกชน

  7. ผลกระทบของพรบ.42 ต่อการตลาดสหกรณ์

  8. ปรัชญาของการตลาดสหกรณ์(Cooperative marketing philosophy) • หลักการที่ผู้ใช้บริการเป็นเจ้าของกิจการ(User-owned principle) สหกรณ์จะทำธุรกิจกับบุคคลที่เป็นเจ้าของผู้ถือหุ้นกับสหกรณ์ • หลักการที่ผู้ใช้บริการเป็นผู้ควบคุมกิจการ(User-controlled principle) กิจการสหกรณ์ถูกควบคุมและบริหารโดยผู้ที่ทำธุรกิจกับสหกรณ์ อำนาจการออกเสียงไม่เป็นสัดส่วนตามความมากน้อยของเงินที่ ลงทุนกับสหกรณ์ • หลักการแบ่งปันกำไรคืนสู่ผู้ทำธุรกิจกับสหกรณ์ (User-benefit principle) การแบ่งปันผลกำไรคืนสู่ผ้มาทำธุรกิจกับสหกรณ์ตามสัดส่วนของการทำธุรกิจ ไม่ใช่ตามสัดส่วนปริมาณหุ้น หุ้นมีราคาคงที่

  9. คำอธิบายรายวิชา • แนวคิดการดำเนินธุรกิจการตลาดของสหกรณ์(Ideology,Principle,Means) • การเชื่อมโยงธุรกิจการตลาดกับธุรกิจอื่นของสหกรณ์ • การเชื่อมโยงธุรกิจการตลาดของสหกรณ์กับองค์กรธุรกิจอื่น • กิจกรรมการตลาดของสหกรณ์ • การบริหารการตลาดและกลยุทธ์การตลาดของสหกรณ์ • นโยบายการตลาดของรัฐและผลกระทบจากการตลาดระหว่างประเทศที่มีต่อสหกรณ์

  10. หลักการตลาดสหกรณ์ • ปรัชญาของการตลาดสหกรณ์(Cooperative philosophy) * หลักการที่ผู้ใช้บริการเป็นเจ้าของกิจการ(User-owned principle) * หลักการที่ผู้ใช้บริการเป็นผู้ควบคุมกิจการ(User-controlled principle) * หลักการแบ่งปันกำไรคืนสู่ผู้ทำธุรกิจกับสหกรณ์(User-benefit principle) • การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่เป็นสมาชิก(Cooperative members) * การส่งเสริมให้สมาชิกร่วมมือในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ให้มากที่สุด * การส่งเสริมให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการบริหารสหกรณ์ให้มากที่สุด • การศึกษาพฤติกรรมตลาดของผู้บริโภคหรือผู้ซื้อที่มิใช่สมาชิก(Non member consumer and Cooperative consignees) • การกำหนดแผนการตลาดที่เหมาะสม และสนองผลประโยชน์สูงสุดของสมาชิก สหกรณ์ ชุมชน และประเทศ

  11. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการสหกรณ์ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการสหกรณ์ ปัจจัยการผลิต Planning ที่ดิน Organizing Staffing • ได้ประสิทธิผล • บรรลุวัตถุประสงค์ • ขององค์การ • เป้าหมายขององค์การ Directing ทุน Coordinating Reporting แรงงาน Budgeting การจัดการ เศรษฐศาสตร์องค์การ เศรษฐศาสตร์

  12. ความหมายของประสิทธิภาพ(จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี) • ประสิทธิภาพ หมายถึง การใช้ทรัพยากรในการดำเนินการใดๆ ก็ตามโดยมีสิ่งมุ่งหวังถึงผลสำเร็จ และผลสำเร็จนั้นได้มาโดยการใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด และการดำเนินการเป็นไปอย่างประหยัด ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลา ทรัพยากร แรงงาน รวมทั้งสิ่งต่างๆ ที่ต้องใช้ในการดำเนินการนั้นๆ ให้เป็นผลสำเร็จ และถูกต้อง

  13. การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ • หมายถึง การใช้ทรัพยากรในการผลิตน้อยแต่ได้ผลผลิตมาก • สูตรการคำนวณ คือ ผลผลิต/ปัจจัยการผลิต > 1 • ผลผลิตหมายถึงสิ่งที่ผลิตออกมาได้ เช่น ผลิตภัณฑ์ ชิ้นงาน บริการ • ปัจจัยการผลิตหมายถึง ที่ดิน ทุน แรงงาน ผู้ประกอบการ • ผลลัพธ์ที่ได้ ถ้ามีค่ามากกว่า 1 หมายความว่า มีประสิทธิภาพ แต่คำถามที่ต้องถามต่อไป คือ ประสิทธิผล

  14. ประสิทธิผล(Effectiveness) • คือการทำงานแล้วได้ผลของงานบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ

  15. การจัดการร้านสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดการร้านสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  16. การจัดการทางการตลาด Chanchai Petchprapunkul 2548

  17. The Competitive advantage concepts: Michale E. Porter • Competitive Strategy: Techniques for Analyzing Industries and Competitors (1980) model คือ พลังขับทั้งห้า • Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior Performance (1985) model คือ ห่วงโซ่คุณค่า • The Competitive Advantage of Nations (1990) model คือ เพชรพลวัตร

  18. องค์ประกอบของการตลาดสหกรณ์องค์ประกอบของการตลาดสหกรณ์

  19. ความสามารถทางการแข่งขันในอุตสาหกรรม Competitive strategy: Techniques for Analyzing Industries and Competitors, by Michale E. Porter (1980)

  20. Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior Performance (1985)

  21. การวิเคราะห์ต้นทุนการขายต้นทุนรวม = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนแปรผัน

  22. สมการกำไร • TR - TC = Profit …………….… (1) • (P*Q)  (FC + VC) =  = Q*CM ………………. (2)

  23. สมการกำไร • กำไร = ยอดขาย - ต้นทุน (ราคา*จำนวนหน่วย)(ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนแปรผัน) ต้องแข่งขันได้ ต้องควบคุม ต้องขายให้ได้มากๆ ต้องแข่งขันได้

  24. การตั้งราคา

  25. การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่เป็นสมาชิก(Cooperative members) • ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค • ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมผู้ซื้อ • การส่งเสริมให้ “non member” เป็น “member” • การส่งเสริมให้สมาชิกร่วมมือในการทำธุรกิจกับ สหกรณ์ให้มากที่สุด • การส่งเสริมให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการ บริหารสหกรณ์ให้มากที่สุด

  26. ความสำคัญของการซื้อ บุคลิกภาพของผู้ซื้อ ชนชั้น ทางสังคม วัฒนธรรม องค์การ ความกดดันด้านเวลา ฐานะ การเงิน ทฤษฎีพฤติกรรมผู้ซื้อของ Howard-Sheth (1969) การตัดสินใจเลือกของผู้ซื้อ กล่องดำในใจผู้บริโภค การรับรู้ การเรียนรู้ แบรนด์ต่างๆ ปัจจัยตอบสนอง สิ่งเร้าสัญญลักษณ์ 1.คุณภาพ 2.ราคา 3.ความโดดเด่น 4.หาซื้อง่าย 5.การบริการ การรับรู้ (Perceptual) 1.ความอ่อนไหวต่อ ข้อมูล 2.อคติต่อการรับรู้ 3.การค้นหาข้อมูล การเรียนรู้ (Learning component) 4.แรงจูงใจทั่วไป 5.แรงจูงใจเฉพาะ 6.ตัวยับยั้ง 7.ตัวกำกับการตัดสินใจ 8.ปรับการรับรู้ 9.มีใจโน้มเอียง 10.ความพึงพอใจ พฤติกรรมการซื้อ ความมุ่งหวังที่จะ ทัศนคติต่อแบรนด์ สิ่งเร้าที่มีนัยสำคัญ 1.คุณภาพ 2.ราคา 3.ความโดดเด่น 4.หาซื้อง่าย 5.การบริการ ความเข้าใจในแบรนด์ ความตั้งใจ สิ่งเร้าทางสังคม

  27. หลักการที่สำคัญทางการตลาด 4หลักการ • Marketing Structure Consumer or Buyer Producer or Marketer Market • Marketing Process Before production was produced to the ender users • Marketing Program & Marketing Mixes Four Ps • Marketing Functions Staffing & Strategies

  28. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Stakeholders) หน้าที่ ปรัชญา สหกรณ์ สมาชิก(Members) มีฐานะเป็นเจ้าของ สหกรณ์ ควบคุม สหกรณ์ผ่านการเลือกตั้งคณะกรรมการในที่ประชุมใหญ่ เพื่อการบรรลุเป้าหมายทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมการ (ผู้แทนของเจ้าของ) เป็นตัวแทนของเจ้าของในการกำหนดนโยบายบริหาร สหกรณ์ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ฝ่ายจัดการ (ผู้ทำการแทนเจ้าของ) เป็นผู้ทำการแทนเจ้าของ (Agent) ในการจัดการธุรกิจของ สหกรณ์ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ ทางเศรษฐกิจเป็นหลัก ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งสามฝ่ายของ สหกรณ์จึงควรรู้ภาระหน้าที่ของตนเองและความรับผิดชอบตามเป้าหมายและปณิธานของ สหกรณ์

  29. “แบรนด์” (Brand) มีความหมาย 4 ระดับ • 1ระดับ attributesคือรูปร่างหน้าตาภายนอกที่ผู้บริโภคสามารถจดจำแบรนด์นั้นได้เช่นโลโก้ชื่อสีสันรูปร่างของกล่องหรือบรรจุภัณฑ์เป็นต้น • 2 ระดับ benefitsคือคุณประโยชน์ที่จับต้องได้ของผลิตภัณฑ์นั้นๆในความรับรู้ของผู้บริโภคเช่นรสชาติอร่อยสระผมแล้วไม่มีรังแคซักผ้าแล้วขาวกลิ่นไม่ฉุนเสียแล้วซ่อมได้เป็นต้น • 3 ระดับ valuesคือคุณค่าที่มีอยู่ในผลิตภัณฑ์แม้ไม่อาจจับต้องได้โดยตรงแต่ผู้บริโภคมีความรู้สึกและรับรู้คุณค่าของแบรนด์นั้นได้เช่นความน่าเชื่อถือมั่นใจที่จะรับประทานมั่นใจที่จะใช้คุ้นเคยเพราะใช้มานานหรือมีความทันสมัยเป็นต้น • 4 ระดับpersonalityคือบุคลิกภาพที่ให้กับผู้ใช้แบรนด์นั้นและคิดว่าผู้อื่นจะมองดูตนเองแบบนั้นเช่นดูเป็นวัยรุ่นดูเป็นผู้ใหญ่ดูน่าเกรงขามดูเรียบร้อยเป็นต้น

More Related