1 / 13

9 เป้าหมาย NCDs : 2025

WHO : 9 Voluntary Global NCD Targets for 2025. การจัดทำกลยุทธ์สร้างนโยบายสาธารณะระดับ ชุมชน โรงเรียน องค์กร ที่สร้างสภาพแวดล้อมสําหรับปรับพฤติกรรม. Where to go ?. 9 เป้าหมาย NCDs : 2025. ภายใน 8 ปี. ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 %. ลดการบริโภคยาสูบ 30 %. ลดภาวะ

jwyrick
Download Presentation

9 เป้าหมาย NCDs : 2025

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. WHO : 9 Voluntary Global NCD Targets for 2025 การจัดทำกลยุทธ์สร้างนโยบายสาธารณะระดับชุมชน โรงเรียน องค์กร ที่สร้างสภาพแวดล้อมสําหรับปรับพฤติกรรม Where to go ? 9 เป้าหมาย NCDs: 2025 ภายใน 8 ปี • ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % • ลดการบริโภคยาสูบ 30 % • ลดภาวะ • ความดันโลหิตสูง • 25 % • ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตาย ก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% • ลดการขาดกิจกรรม • ทางกาย • 10 % • ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% • ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม • ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ที่มา: http://www.who.int/nmh/ncd-tools/definition-targets/en/ 3 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  2. Where we are? สถานการณ์สุขภาพ หวานจัง สะเทือนไต  ผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 4 ล้านคน อีก 7.7 ล้านคน เสี่ยงเบาหวานในอนาคต*  อันดับ 3 ของอาเซียน** ที่มา : *สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (26 ก.ค. 2559) **สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข  ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังประมาณ 8 ล้านคน เพิ่มขึ้นปีละ 7,800 ราย  อันดับ 3 ของอาเซียน ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (18 มี.ค. 2559) อ้วนจริง  คนไทยมีภาวะอ้วนลงพุง 19 ล้านคน อันดับ 2 ของอาเซียน ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (26 ก.ค. 2559) ;bltbangkok (24 พ.ค. 2560) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  3. การจัดการปัญหาโรค NCDs ในประเทศไทย Where we are? ระบบรักษา โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ค่าใช้จ่ายการรักษา 335,359 ล้านบาท/ปี =2.94% GDP* =18,376 บาท/คน/ปี โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง โรค NCDs อื่น โรคถุงลมโป่งพอง ระบบป้องกัน Best buy Intervention ค่าใช้จ่าย 12 บาท/คน/ปี** ปรับลดหวาน มัน เค็ม ที่มา: *การทบทวนวรรณกรรม : สถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการบริการด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, 2557 ** รายงานสถานการณ์โรค NCDs, 2557 งดดื่มสุรา/สูบบุหรี่ การออกกำลังกาย อ่านฉลากโภชนาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  4. ถึงเวลาที่เราต้องรดน้ำที่รากแล้วหรือยัง ? อาหาร เป็น 50% ของสาเหตุการเกิด NCDs อาหารลดหวาน มัน เค็ม ระบบป้องกัน งดดื่มสุรา/สูบบุหรี่ การออกกำลังกาย อ่านฉลากโภชนาการ ค่าใช้จ่าย 12 บาท/คน/ปี** • ลดภาวะ • ความดันโลหิตสูง • 25 % • ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม • ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% เป้าหมาย NCDs ปี 2025 ภายใน 8 ปีเราจะจัดการได้ทันจริงหรือ ? Healthy people สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  5. กลไกการขับเคลื่อน อาหารปรับสูตร (Reformulated foods) การสื่อสารประชาสัมพันธ์ (Communication) เครื่องมือ: ฉลาก (Tools) Healthier Food to Healthier Life

  6. วิวัฒนาการฉลากโภชนาการวิวัฒนาการฉลากโภชนาการ Informative nutrition labeling ข้อมูลโภชนาการแบบเต็ม Informative nutrition labeling ข้อมูลโภชนาการแบบย่อ GDA ความละเอียด ความง่ายต่อการเข้าใจ 1 2 3 Presumptive/Interpretation nutrition labeling ตราสัญลักษณ์

  7. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่ายการพัฒนาและส่งเสริมการใช้สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย เพื่อผู้บริโภค ความสำคัญ เป้าหมาย ผู้บริโภคมีเครื่องมืออย่างง่าย ในการตัดสินใจเลือกซื้อ อาหารเพื่อสุขภาพ (Simplified Logo) ปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประชาชนไทยมีเพิ่มมากขึ้น ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มี สาเหตุมาจากการบริโภคอาหาร ภาคอุตสาหกรรมและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตระหนักถึงการ พัฒนาสูตรอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม ฉลากโภชนาการที่มีในปัจจุบัน ยากต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค

  8. กลไกการขับเคลื่อนสัญลักษณ์โภชนาการ 2.2 เป้าหมาย นโยบายลดหวาน มัน เค็ม ฉลากโภชนาการอย่างง่าย • ผู้บริโภคเลือกซื้ออาหารเพื่อสุขภาพ • ภาคอุตสาหกรรมปรับสูตรอาหารลดหวาน มัน เค็ม ประชาสัมพันธ์ Logo สู่ผู้บริโภค ผลลัพธ์ • Nutrient Profile • Simplified Logo • กำหนดมาตรฐาน • ลดหวาน มัน เค็ม การขับเคลื่อนผู้บริโภค ผู้บริโภคลดการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม เครือข่ายและ Scientific Experts • การตรวจสอบรับรอง • ติดตาม ตรวจสอบฉลากในท้องตลาด • ขับเคลื่อนฉลากโภชนาการอย่างง่ายสู่การปฏิบัติ ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ • สร้างความรู้ความตระหนัก • และเผยแพร่สู่ผู้บริโภค หน่วยรับรอง ออกมาตรฐาน/รับรอง - ลดภาระค่า รักษาพยาบาล - ประชาชน สุขภาพดี Stakeholder กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สถาบันโภชนาการ ม.มหิดล กรมควบคุมโรค อย. สภาอุตสาหกรรม สมาคม โภชนาการ

  9. ประโยชน์ของฉลากและสัญลักษณ์โภชนาการประโยชน์ของฉลากและสัญลักษณ์โภชนาการ ข้อมูลในการเลือกซื้อ การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ฉลากและสัญลักษณ์โภชนาการ หน่วยงานวิจัย/ สถานศึกษา เจ้าหน้าที่ ศึกษาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีแนวทางในการปฏิบัติ/ตรวจสอบ เป้าหมาย ลดหวาน มัน เค็ม

  10. กลไกการขับเคลื่อน Healthy diet สู่ Healthy People อย. ในฐานะเลขานุการร่วมของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กลไกชุมชนเพื่อการปรับพฤติกรรม ลดการบริโภคหวาน มัน เค็ม แก้ปัญหาโรคอ้วน/NCDs 1. โรงเรียน 2. ตำบล / ศูนย์เด็กเล็ก 3. สถานที่ทำงาน (รัฐ/เอกชน) Area Base

  11. “ เป้าหมาย..... ชุมชนจะเข้มแข็ง สามารถจัดการตนเองในการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพ และ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ได้อย่างยั่งยืน” สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

More Related