1 / 39

ประชุมการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต เรื่องการจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่อง

ประชุมการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต เรื่องการจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan - BCP) สำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี. สำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี กลุ่มงานข้อมูลฯ สิงหาคม 255 6. ความหมาย ความสำคัญ การเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต.

Download Presentation

ประชุมการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต เรื่องการจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตเรื่องการจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่องประชุมการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตเรื่องการจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan - BCP) สำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี สำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี กลุ่มงานข้อมูลฯ สิงหาคม 2556 Your slide title – Month 2013

  2. ความหมาย ความสำคัญ การเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต การบริหารความต่อเนื่อง หรือ Business Continuity Management (BCM)คือ องค์รวมของกระบวนการบริหารซึ่งชี้บ่งภัยคุกคามต่อองค์กร และผลกระทบของภัยคุกคามนั้นต่อการดำเนินธุรกิจ และให้แนวทางในการสร้างขีดความสามารถให้องค์กรมีความยืดหยุ่น เพื่อการตอบสนองและปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และกิจกรรมที่สร้างมูลค่าที่มีประสิทธิผล หากเกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆขึ้นอาจส่งผลกระทบให้หน่วยงานไม่สามารถดำเนินงาน หรือให้บริการได้ตามปกติ ดังนั้น จึงเป็นความจำเป็นที่หน่วยงานต้องจัดทำแผนความต่อเนื่อง(Business Continuity Plan -BCP) เพื่อเตรียมพร้อมรับภัย

  3. มติ ค.ร.ม.เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 เห็นชอบกรอบแนวทางการดำเนินการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานที่ต้องดำเนินการ จังหวัด อปท. องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ • จัดประชุมให้ความรู้เรื่อง “การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต” • คณะทำงานฯของส่วนราชการ จัดทำแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน • หน่วยงานดำเนินตามแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต รวมถึงติดตามประเมินผล ทบทวน ปรับปรุง สื่อสารสร้างความเข้าใจ ให้ครอบคลุมทั้งกระบวนการตามพันธกิจ และผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง • หน่วยงานปรับปรุงแผนบริหารความต่อเนืองให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ 1. สร้างความรู้-เข้าใจให้ส่วนราชการ 2. การเตรียมความพร้อมให้ส่วนราชการ 4 ขั้นตอน 3. ซักซ้อมแผนและนำไปปฏิบัติจริง 4. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  4. สภาวะวิกฤต มีอะไรบ้าง? ไฟฟ้าดับในวงกว้าง แผ่นดินไหว สึนามิ ไฟป่า องค์กร / หน่วยงาน ดินถล่ม โรคระบาด ก่อการร้าย พายุใต้ฝุ่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ชุมนุมประท้วง / จลาจล ระเบิด

  5. ไฟฟ้าดับในวงกว้าง แผ่นดินไหว สภาวะที่จะส่งผลผลกระทบ ต่อส่วนราชการ โรคระบาด ก่อการร้าย พายุใต้ฝุ่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ชุมนุมประท้วง / จลาจล ระเบิด โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  6. 1. ความเป็นมาการบริหารความต่อเนื่อง จากการที่ประเทศไทยเผชิญกับสถานการณ์อุทกภัยรุนแรง ในช่วงระหว่างเดือนกันยายน - เดือนธันวาคม 2554 ที่ผ่านมา ได้พบว่าระบบและกลไกของรัฐหลายประการมีปัญหาโดยไม่สามารถดำเนินภารกิจในสภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนเป็นไปโดยขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสถานการณ์ที่เกิดขึ้นดังกล่าวเป็นบทเรียนอันสำคัญที่ทุกส่วนราชการต้องนำมาปรับกระบวนการทำงานใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการบริการประชาชน เพื่อให้มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการหรืองานบริการประชาชนที่สำคัญ สามารถดำเนินงานหรือให้บริการได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลงแม้ว่าจะประสบกับวิกฤตการณ์หรือภัยพิบัติต่าง ๆ Your slide title – Month 2013

  7. 2. วัตถุประสงค์การบริหารความต่อเนื่อง - เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการ ปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต- เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือ กับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น- เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดำเนินงาน เช่น ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน - เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ - เพื่อให้ประชาชน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานภาครัฐ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของหน่วยงาน แม้หน่วยงานจะเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายรงและส่งผลกระทบจนทำให้การดำเนินงานต้องหยุดชะงัก Your slide title – Month 2013

  8. 3. สมมุติฐานของแผนความต่อเนื่อง(BCP Assumptions) เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นภายใต้สมมุติฐาน ดังต่อไปนี้ เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสำคัญต่างๆ แต่มิได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงานสำรองที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ หน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศรับผิดชอบในการสำรองระบบสารสนเทศต่างๆ โดยระบบสารสนเทศสำรองมิได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินเหมือนกับระบบสารสนเทศหลัก  “บุคลากร” ที่ถูกระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง เจ้าหน้าที่และพนักงานทั้งหมดของสำนักงานจังหวัด โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  9. 4. ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง(Scope of BCP) แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รับรองสถานการณ์ ในกรณีเกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่ สำนักงานของหน่วยงาน หรือภายในหน่วยงานในจังหวัดสิงห์บุรี ด้วยเหตุการณ์ต่างๆดังต่อไปนี้ เหตุการณ์อุทกภัย เหตุการณ์อัคคีภัย เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด ฯลฯ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  10. 5. การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ หน่วยงานวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงและภัยคุกคามจากเหตุการณ์ต่างๆ สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการดำเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำคัญจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องระบุไว้ในแผนความต่อเนื่อง ดังนั้นการเตรียมการสามารถแบ่งประเภทของผลกระทบต่อทรัพยากรที่สำคัญได้ 5 ด้าน ดังนี้ 5. การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ หน่วยงานวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงและภัยคุกคามจากเหตุการณ์ต่างๆ สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการดำเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำคัญจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องระบุไว้ในแผนความต่อเนื่อง ดังนั้นการเตรียมการสามารถแบ่งประเภทของผลกระทบต่อทรัพยากรที่สำคัญได้ 5 ด้าน ดังนี้ Your slide title – Month 2013

  11. (1) ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะยาว (2) ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ/การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ หรือไม่สามารถจัดหา/จัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญได้ (3) ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรือข้อมูลที่สำคัญไม่สามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้ตามปกติ (4) ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้ตามปกติ (5)ผลกระทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริการที่สำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้คู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สามารถติดต่อหรือให้บริการหรือส่งมอบงานได้ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  12. 6. สรุปเหตุการณ์สภาวะวิกฤตและผลกระทบจากเหตุการณ์ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  13. 7. ทีมบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan Team) ตาราง 1 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมบริหารความต่อเนื่องสำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี (BCP Team) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  14. 8. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง(Business Continuity Strategy) ตาราง 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  15. ตาราง 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  16. ตาราง 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (BusineContinuity Strategy) (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  17. 9. ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) ตารางที่ 3 ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  18. 10. กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน ( Call Tree) • ในกรณีที่ไม่สามารถติดต่อทีมบริหารความต่อเนื่องได้ ให้ติดต่อไปยังบุคลากรสำรอง โดยมีการพิจารณา ดังนี้ • - ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นในเวลาทำการ ให้ดำเนินการติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์โทรศัพท์ของหน่วยงานเป็นช่องทางแรก • - ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นนอกเวลาทำการหรือสถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับผลกระทบให้ดำเนินการติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์โทรศัพท์มือถือเป็นช่องทางแรก • - ถ้าสามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ให้แจ้งข้อมูลแก่บุคลากรหลักของหน่วยงานทราบ ดังต่อไปนี้ • 1. สรุปสถานการณ์ของเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง • 2. เวลาและสถานที่สำหรับการนัดประชุมเร่งด่วนของหน่วยงาน สำหรับผู้บริหารของหน่วยงานและทีมงานบริหารความต่อเนื่อง • 3. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อบริหารความต่อเนื่องต่อไป ได้แก่ สถานที่รวมพลในกรณีที่มีการย้ายสถานที่ทำการ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  19. กำหนดโครงสร้างและทีมบริหารความต่อเนื่องกำหนดโครงสร้างและทีมบริหารความต่อเนื่อง หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือง (หัวหน้าสำนักงาน...) • หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง – ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน • ทีมบริหารความต่อเนื่อง – ผอ.กอง/สำนัก • ผู้ประสานงานทีมบริหารความต่อเนื่อง - หน้าที่ในการติดต่อและประสานงานภายในหน่วยงานและให้การสนับสนุน ผู้ประสานงานทีมบริหารความต่อเนือง ทีมบริหารความต่อเนื่อง (ผอกอง/สำนัก) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (ผอกอง/สำนัก) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (ผอกอง/สำนัก) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (ผอกอง/สำนัก) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  20. หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง(หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี)หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง(หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (หัวหน้ากลุ่มบริหารทรัพยากร บุคคล ) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (หัวหน้ากลุ่มงานอำนวยการ) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด) ทีมบริหารความต่อเนื่อง (หัวหน้ากลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร) กำหนดโครงสร้าง Call Tree โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  21. 11.การวิเคราะห์เพื่อกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคัญ11.การวิเคราะห์เพื่อกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคัญ 1) ด้านสถานที่ปฏิบัติงานสำรอง (Working Space Requirement) ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 การระบุพื้นที่การปฏิบัติงานสำรอง โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  22. 2) ความต้องการด้านวัสดุอุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางที่5 การระบุจำนวนวัสดุอุปกรณ์ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  23. ตารางที่5 การระบุจำนวนวัสดุอุปกรณ์ (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  24. ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยีและข้อมูล 3) ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information Requirement) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  25. 4) ความต้องการด้านบุคลากรสำหรับความต่อเนื่องเพื่อปฏิบัติงาน (Personnel Requirement) ปรากฏดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 การระบุจำนวนบุคลากรหลักที่จำเป็น โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  26. 5) ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สำคัญ (Service Requirement) ตารางที่ 8 การระบุจำนวนผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  27. 12.ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและการกอบกู้กระบวนการ12.ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและการกอบกู้กระบวนการ โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  28. ตาราง (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  29. ตาราง (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  30. ตาราง (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  31. ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของกลุ่มงานฯคำนึงถึงความปลอดภัย ในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดสิงห์บุรีกำหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  32. ตาราง (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  33. ตาราง (ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  34. ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของกลุ่มงานฯ คำนึงถึงความปลอดภัย ในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดสิงห์บุรีกำหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  35. ตาราง(ต่อ) โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  36. ภาคผนวก โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  37. รายชื่อบุคลากรสำนักงานจังหวัดสิงห์บุรีรายชื่อบุคลากรสำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

  38. ส่งแผนบริหารความต่อเนื่อง ดังนี้ 1.เอกสารเล่ม จำนวน 1 เล่ม 2.แผ่น CD จำนวน 1 แผ่น ให้สำนักงานจังหวัด (กลุ่มงานข้อมูลฯ) ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556 ขอบคุณค่ะ

  39. จบการนำเสนอ Your slide title – Month 2013

More Related