1 / 30

ตารางพยัญชนะวรรค

พยัญชนะในภาษาบาลี มี ๓๓ ตัว ดังนี้. ตารางพยัญชนะวรรค. เศษวรรค ๘ ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ í ( อัง ). พยัญชนะในภาษาสันสกฤต มี ๓๕ ตัว ดังนี้. ตารางพยัญชนะวรรค. เศษวรรค ๑๐ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ í ( อัม ). พยัญชนะในภาษาไทย มี ๔๔ ตัว ดังนี้. ตารางพยัญชนะวรรค.

katoka
Download Presentation

ตารางพยัญชนะวรรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พยัญชนะในภาษาบาลีมี ๓๓ ตัว ดังนี้ ตารางพยัญชนะวรรค เศษวรรค ๘ ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ í ( อัง )

  2. พยัญชนะในภาษาสันสกฤตมี ๓๕ ตัว ดังนี้ ตารางพยัญชนะวรรค เศษวรรค ๑๐ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ í ( อัม )

  3. พยัญชนะในภาษาไทยมี ๔๔ ตัว ดังนี้ ตารางพยัญชนะวรรค เศษวรรค ๑๑ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อฮ

  4. พยัญชนะไทย แบ่งตามที่มา ๓ ชนิด คือ • พยัญชนะกลาง คือพยัญชนะที่ใช้ได้ทั้งในภาษาไทย บาลี และสันสฤต มี ๒๑ ตัว ได้แก่ ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห • พยัญชนะเดิม คือ พยัญชนะที่ใช้เฉพาะในภาษาบาลีและ สันสกฤต มี ๑๓ ตัว ได้แก่ ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ • พยัญชนะเติม คือ พยัญชนะที่คนไทยคิดเพิ่มเติมขึ้นมาใช้ มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ ( ปัจจุบันเลิกใช้แล้วคือ ฃ ฅ )

  5. พยัญชนะในภาษาไทย๔๔ ตัวแบ่งเป็น อักษร ๓ หมู่ ดังนี้ ไตรยางศ์ เศษวรรค ๑๑ ตัว คือ ย ร ล วศ ษ ส หฬ อ ฮ

  6. อักษรคู่ คือ อักษรต่ำที่มีเสียงคู่หรือใกล้เคียงกันกับอักษรสูง มี ๗ แถวดังนี้ อักษรคู่

  7. เสียงพยัญชนะ เสียงและรูปพยัญชนะ ๑. พยัญชนะเดี่ยว มีทั้งหมด ๔๔ ตัว แต่มีเสียงเพียง ๒๑ เสียง

  8. ๒. พยัญชนะประสม ๒.๑ อักษรควบ คือพยัญชนะควบกับ ร ล ว และประสมสระเดียวกัน แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ (๑) อักษรควบกล้ำแท้ มี ๑๑ เสียง คือ /กร/ , /คร/(ขร) , /ปร/ , /พร/ , /ตร/ /กล/ , /คล/(ขล) , /ปล/ , /พล/(ผล) /กว/ , /คว/(ขว) พยัญชนะ ป และ พ ควบได้กับ ร , ล ส่วน พยัญชนะ ต ควบได้กับ ร เท่านั้น

  9. เนื่องจากสื่อสารไร้พรมแดนมีคำควบกล้ำที่ไทยรับมาจากภาษาอังกฤษมี ๕ เสียง คือ /ดร/ : ดรัมเมเยอร์ ดราฟท์ /ฟร/ : ฟรี /ฟล/ : แฟลกซ์ , แฟลต /บร/: บรูไน , เบรก , บริดจ์ , บรั่นดี /บล / : บล็อก ,

  10. (๒) อักษรควบกล้ำไม่แท้ มี ๒ ลักษณะ คือ ๑. ไม่ออกเสียง “ร” แม้มี “ร” ควบอยู่ก็ตาม เช่น จริง สร้าง ศรี ไซร้ สระ • ตัว “ทร” อ่านออกเสียงเป็น “ซ” เช่น บทช่วยจำ ทรวดทรง ทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอินทรี มัทรีอินทรีย์มี เทริดนนทรีพุทราเทรา ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด โทรมมนัสฉะเชิงเทรา ตัว “ทร” เหล่านี้เรา ออกสำเนียงเป็นเสียง “ซ” ยกเว้น “ทร” ที่ออกเสียงตามเขียน ได้แก่ อินทรา ภัทรา จันทรา

  11. ๒.๒ อักษรนำ มีลักษณะ ๒ ประการ คือ • ออกเสียง ๑ พยางค์ เมื่อ “ ห” นำอักษรต่ำเดี่ยว หรือ “อ” นำ “ย” เช่น หงอก หญิง ใหญ่ หยาบ เหยียด หนอน หนาม หนิง ไหน ไหล อย่า อยู่ อย่าง อยาก • ออกเสียง ๒ พยางค์เมื่ออักษรสูงหรืออักษรกลางนำหน้าอักษรต่ำเดี่ยว โดยใช้สระตัวเดียวกัน เวลาออกเสียงจะมีเสียง “อะ” ที่พยางค์หน้า ส่วนพยางค์หลังออกเสียง “ ห” นำ เช่น ฉลาด ถนน ตลาด ผวา สมุย ยกเว้น คำต่อไปนี้ มิใช่อักษรนำ แต่อ่านเหมือนอักษรนำ เช่น สิริ บัญญัติ ศักราช ยุโรป กำเนิด * อักษรควบกล้ำไม่แท้นี้ในทางภาษาศาสตร์ไม่ถือว่าเป็นพยัญชนะควบกล้ำเพราะไม่ได้ออกเสียงพยัญชนะทั้ง ๒ ตัว

  12. มาตราแม่ ก กา มี ๙ แม่ ดังนี้ ๑. แม่ ก กา คือ มีรูปสระทั้งสระยาวและสระสั้น เช่น มาดี มะลิ ทะลุ เป็นต้น มาตราแม่ ก กา

  13. เสียงในภาษา เสียงในภาษา มี ๓ ชนิด คือ • เสียงสระ ( เสียงแท้ ) มี ๒๑ รูป ๒๔ เสียง • เสียงพยัญชนะ ( เสียงแปร ) มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง • เสียงวรรณยุกต์ ( เสียงดนตรี ) มี ๔ รูป ๕ เสียง (* เสียงวรรณยุกต์ มีเฉพาะเสียงใน ภาษาไทยและภาษาจีน เท่านั้น )

  14. สระในภาษาไทย รูปสระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป • ะ = วิสรรชนีย์ • าิํั่็ = ลากข้าง • ิ = พินทุอิ • ํ = หยาดน้ำค้าง, นิคหิต (นฤคหิต ) • ั = ไม้หันอากาศ , ไม้ผัด • ่ = ฝนทอง • ” = ฟันหนู

  15. รูปสระในภาษาไทย ( ต่อ ) • ฤ = ตัวรึ • ฤาู = ตัวรือ • ๑๗. ฦ = ตัวลึ • ๑๘. ฦา = ตัวลือ • อ = ตัวออ • ย = ตัวยอ • ว = ตัววอ ๘. ็ = ไม้ไต่คู้ ๙. ุ = ตีนเหยียด ๑๐. ู = ตีนคู้ ๑๑. เ = ไม้หน้า ๑๒. ใ = ไม้ม้วน ๑๓. ไ = ไม้มลาย • โ = ไม้โอ

  16. เสียงสระในภาษาไทย เสียงสระ รูปสระ ๒๑ รูป ๒๔ เสียง แยกเป็นดังนี้ ๑. สระแท้ฐานเดียว ๘ เสียง

  17. เสียงสระในภาษาไทย ๒. สระแท้สองฐาน ๑๐ เสียง

  18. เสียงสระในภาษาไทย ๓. สระประสมหรือสระเลื่อน ๖ เสียง

  19. สระเกิน สระเกิน มี ๘ เสียง ( ปัจจุบันไม่นับรวม ) • อำ แทนเสียงด้วย อะ + ม • ไอ แทนเสียงด้วย อะ + ย • ใอ แทนเสียงด้วย อะ + ย • เอา แทนเสียงด้วย อะ + ว • ฤ แทนเสียงด้วย รึ • ฤา แทนเสียงด้วย รื • ฦ แทนเสียงด้วย ลึ • ฦา แทนเสียงด้วย ลื

  20. มารู้จัก คำเป็น , คำตาย กันเถอะ

  21. รู้จัก คำครุ , คำลหุ หรือยัง

  22. คำเป็นคำตาย • มนุษย์มีภาษามีเผ่าพันธุ์ มีสูงต่ำชนชั้นจิตนิสัย มีร่ำรวยยากจนคละคล่ำไป อันดีชั่วคือใจควรไตร่ตรอง

  23. คำครุ , ลหุ • มนุษย์มีภาษามีเผ่าพันธุ์ มีสูงต่ำชนชั้นจิตนิสัย มีร่ำรวยยากจนคละคล่ำไป อันดีชั่วคือใจควรไตร่ตรอง ุ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ ÑÑ Ñ Ñ ุ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ ุ Ñ Ñ Ñ Ñ Ñ ÑÑ ÑÑ Ñ Ñ Ñ

More Related