1 / 55

ด้านส่งเสริมป้องกัน

ด้านส่งเสริมป้องกัน.

kaz
Download Presentation

ด้านส่งเสริมป้องกัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ด้านส่งเสริมป้องกัน -กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค-กระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม - แผนสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี - แผนสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน 5-14 ปี - แผนสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น 15-21 ปี - แผนสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน 15-49 ปี - แผนกลุ่มวัยผู้สูงอายุ และผู้พิการ-แผนแก้ไขสุขภาพในพื้นที่- แผนอาหารปลอดภัย - แผนการควบคุมโรคติดต่อ - แผนสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ - แผนการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  2. กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและแผนสุขภาพ จ.ราชบุรี • แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพจังหวัดราชบุรี • แผนพัฒนาสุขภาพ มีลักษณะเป็น “แผนบูรณาการ” ยึดประชากรและปัญหาในพื้นที่ • เป็นตัวตั้ง ประกอบด้วยแผนสุขภาพ 3 ด้าน 20 แผนงาน • กำหนดให้มีผู้จัดการแผนงาน(Project Manager) 20 แผนงาน ทั้งระดับจังหวัด และ • ระดับอำเภอ • ประเมินและวิเคราะห์ปัญหาปัจจุบัน และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ระดับจังหวัด • อำเภอ ตำบล • ระดับอำเภอและตำบลจัดเวทีประชาคม เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ร่วมกันกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาที่สำคัญระดับจังหวัด อำเภอ และมีความ • สอดคล้องกับระดับเขต • จัดทำแผนสุขภาพระดับจังหวัด ระดับอำเภอ เสนอ คณะกรรมการฯ • Project manager ปรับโครงการ / กิจกรรม / บูรณาการให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ

  3. ผู้รับผิดชอบแต่ละแผนสุขภาพระดับจังหวัด 20 แผนงาน คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี ที่ 98/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนสุขภาพจังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ 2557

  4. การนิเทศ กำกับติดตามแผนสุขภาพ คปสอ. รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2557

  5. แผนพัฒนาสุขภาพสตรีและเด็ก 0-5 ปี สถานการณ์ หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 9,600 คน - ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 49.45 - ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 45.24 หญิงคลอดบุตร จำนวน 9,822 คน - อัตรามารดาตาย 10.14 : 100,000 การเกิดมีชีพ (1 คน) - ตกเลือดหลังคลอด ร้อยละ 1.19 - แม่อายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตร ร้อยละ 18.35 ทารกเกิดทั้งหมดจำนวน 9,902 คน เกิดมีชีพ ทั้งหมด 9,858 คน - อัตราทารกตาย 4.46 : 1000 การเกิดมีชีพ - ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด 18.67 : 1000 การเกิดมีชีพ - ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 8.99

  6. แผนพัฒนาสุขภาพสตรีและเด็ก 0-5 ปี เด็กแรกเกิด - 6 เดือน จำนวน 2,012 คน (สุ่มเดือนกันยายน) - กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 58.95 เด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 52,123 คน - มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95.62 - มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 83.22 สุขภาพช่องปากเด็ก จำนวนเด็กต่ำกว่า 3 ปี จำนวน 27357 คน - ผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ร้อยละ 67.13 - เด็กได้รับ Fluoride varnish จำนวน 5,487 คน ร้อยละ 20.06 ปัญหาฟันน้ำนมผุ (ข้อมูลจากการสำรวจ) - เด็กปฐมวัย จำนวน 2,039 คนร้อยละ 68.66 ความครอบคลุมวัคซีนแยกตามกลุ่มอายุที่ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ - เด็กอายุครบ 1 ปี จำนวน 6,096 ราย ความครอบคลุมร้อยละ 99.85 - เด็กอายุครบ 2 ปี จำนวน 16,902ราย ความครอบคลุมร้อยละ 96.78 - เด็กอายุครบ 3 ปี จำนวน18,724 ราย ความครอบคลุมร้อยละ 99.42 - เด็กอายุครบ 5 ปี จำนวน 13,448 ราย ความครอบคลุมร้อยละ 99.58 การดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ - ศูนย์เด็กเล็ก 218 แห่ง ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 39.4 ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60.6

  7. จำนวนสถานบริการที่ผ่านเกณฑ์ ANC LR WCC คุณภาพ - จำนวนสถานบริการที่ผ่านเกณฑ์ ANC คุณภาพ ร้อยละ 90 (รพ.บ้านโป่ง ไม่ผ่านเกณฑ์) - จำนวนสถานบริการที่ผ่านเกณฑ์ LR คุณภาพ ร้อยละ 80 (รพ.บ้านโป่ง/รพ.วัดเพลง ไม่ผ่านเกณฑ์) - จำนวนสถานบริการที่ผ่านเกณฑ์ wccคุณภาพ ร้อยละ 70 (รพ.ราชบุรี/รพ.บางแพ/รพ.วัดเพลง ไม่ผ่านเกณฑ์)

  8. ปัญหาที่สำคัญ สุขภาพสตรี 1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ล่าช้า 2. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์คุณภาพ สุขภาพเด็ก 0-5 ปี 1. พบโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2. ค้นหาเด็กพัฒนาการล่าช้าได้น้อย 3. เด็กมีฟันน้ำนมผุเพิ่มขึ้น และ ได้รับ Fluoride varnish ไม่ครอบคลุม 4. ขาดการนิเทศ/ติดตาม การดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพใน ระดับพื้นที่

  9. มาตรการระดับจังหวัด (แผนการดูแลสุขภาพสตรี)

  10. มาตรการระดับจังหวัด (แผนการดูแลสุขภาพเด็ก 0-5 ปี)

  11. สรุปแผนงานการดูแลสุขภาพสตรีและเด็ก 0-5 ปี - มี 11 มาตรการ - งบประมาณ

  12. ผลลัพธ์ที่ต้องการ • สุขภาพสตรี • - หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เร็ว และ ฝากครรภ์คุณภาพครบตามเกณฑ์ • - เพิ่มความครอบคลุมของการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และ หญิงหลังคลอด • - สถานบริการผ่านเกณฑ์ ANC LR คุณภาพ • - ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจนระหว่างการคลอดไม่เกินเกณฑ์ - ภาวะตกเลือดหลังคลอด ไม่เกินเกณฑ์ • มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ • สุขภาพเด็ก 0-5 ปี • - เด็กทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่ • อย่างเดียวเพิ่มขึ้น • - เด็กมีพัฒนาการสมวัย และ เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับ • การกระตุ้นพัฒนาการ • - เด็กได้รับการส่งเสริมโภชนาการให้มีการเจริญเติบโตสมวัย • -สถานบริการผ่านเกณฑ์ wccคุณภาพ • - เด็กได้รับวัคซีนทุกประเภทครบถ้วนอย่างครอบครอบคลุม • - ผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน และ เด็กได้รับ Fluorine • vanish เพิ่มขึ้น และ ปัญหาฟันน้ำนมผุลดลง • - ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์คุณภาพ

  13. ผลการดำเนินงานรอบ 3 เดือน • - ชี้แจงการจัดทำแผนสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี และ มีผู้รับผิดชอบแผนกลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี ครบทุกอำเภอ • มีคณะกรรมการงานอนามัยแม่และเด็กระดับจังหวัด และ ระดับอำเภอ ครบทุกแห่งโดยมีแผนงาน/โครงการในการจัดประชุม MCH Board เพื่อแก้ไขปัญหาด้านอนามัยแม่และเด็ก • พัฒนาโรงพยาบาลทุกแห่งตามมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ปี 2557 มีโรงพยาบาลที่ต้องประเมินซ้ำ จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ รพ.บ้านโป่ง รพ. โพธาราม รพ. สมเด็จพระยุพราชจอมบึง และ รพ. ปากท่อ • มีการประชุมคณะกรรมการทันตสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี ผลงานรอบ 3 เดือน (ผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ร้อยละ 10.61 เด็กได้รับ Fluorine vanish ร้อยละ 2.70) • จัดทำโครงการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอในเด็กกลุ่มเสี่ยง รณรงค์ เดือน กพ. และ มีค . 57 • - แจ้ง คปสอ. ในการติดตามศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ และ แจ้ง อปท.สนับสนุนการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ

  14. ปัญหาอุปสรรค • 1. ข้อมูลจากระบบรายงาน 21/43 แฟ้ม ไม่สามารถนำมารายงานความครอบคลุมการรับวัคซีนได้ ต้องใช้ข้อมูลจากการสำรวจเป็น รายไตรมาส • 2. การประชาสัมพันธ์เรื่องการฝากครรภ์เร็วและการฝากครรภ์คุณภาพค่อนข้างน้อย • ผู้ปฏิบัติงานด้านส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพระดับพื้นที่มี • จำนวนน้อย (ทันตาภิบาล/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข) • ข้อเสนอแนะ • 1. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ร่วมกัน และ ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงได้ รวมถึงวิธี การตรวจสอบคุณภาพหรือความถูกต้องของข้อมูล • 2. ควรมีการประชาสัมพันธ์การเตรียมความพร้อมก่อนสมรส และการฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์ ผ่านสื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ มากกว่าสื่อเอกสาร แผ่นพับ เพื่อเป็นช่องทางในการรับรู้ที่ทุกคนเข้าถึง ได้ง่ายและน่าสนใจ • การบริหารจัดการโดยจัดระบบหมุนเวียนทันตบุคลากรเพื่อจัดบริการส่งเสริมป้องกันทันตกรรมระดับปฐมภูมิ ให้ครอบคลุม เด็กกลุ่มเป้าหมาย

  15. แผนสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน(6-12ปี ) สถานการณ์ จากการตรวจสุขภาพนักเรียนปีการศึกษา 2555 (งบประมาณ2556) พบปัญหาเด็กนักเรียนอ้วนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปี 2554 ร้อยละ 7.43 , ปี 2555 ร้อยละ 8.59 , ปี 2556 ร้อยละ 9.38 สภาวะสุขภาพช่องปากจากการสำรวจสภาวะช่องปากเด็กอายุ 12ปี ในปี 2556 มีแนวโน้มลดลง ปี 2554 ร้อยละ 71.5 , ปี 2555 ร้อยละ 61.7 , ปี 2556ร้อยละ 55.39 ด้านความฉลาดและสติปัญญา จาการสำรวจของกรมสุขภาพจิต ปี 2554 เด็กวัยเรียนจังหวัดราชบุรีมีระดับสติปัญญา IQ ได้คะแนน 102.72 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กนักเรียน ป.1 และ ป.6 ครอบคลุม ร้อยละ 99.66 สรุปปัญหา(ตามลำดับความสำคัญ) 1.การคัดกรองและการให้บริการสุขภาพเด็กนักเรียนยังไม่ครอบคลุม 2.เด็กนักเรียนมีภาวะการเจริญเติบโตและโภชนาการไม่เหมาะสมตามวัย 3.โรคฟันผุสูง

  16. มาตรการจังหวัด

  17. สรุปแผนงานการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนมี 7 มาตรการงบประมาณ

  18. ผลการดำเนินงาน รอบ 3 เดือน (ตค.- ธค.56) 1.จัดทำแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียนโดยใช้กระบวนการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เน้นด้านโภชนาการอาหารปลอดภัยและ การออกกำลังกายกีฬา 2.จัดให้มีระบบการรายงานคัดกรองสุขภาพนักเรียนระดับจังหวัดและอำเภอ 3.ผลการดำเนินงานตรวจสุขภาพนักเรียนครั้งที่ 1 ครอบคลุมร้อยละ 84.43 พบว่า นักเรียน เริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ 8.48 นักเรียนมีส่วนสูงค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยร้อยละ 6.38 นักเรียนมีภาวะขาดธาตุเหล็กจำนวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 0.25 ได้รับการรักษาส่งต่อจำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 50.71 นักเรียนมีภาวะขาดสารไอโอดีนจำนวน 29 คน ได้รับการรักษาส่งต่อ 14 คน 4.บริการทันตสุขภาพ นักเรียนชั้น ป.1 จำนวน 9,962คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 8307 คน คิดเป็นร้อยละ 83.4 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 3,839 คน คิดเป็นร้อยละ 38.5

  19. ปัญหาอุปสรรค1.การขับเคลื่อนนโยบาย “นักเรียนไทยสุขภาพดี”ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขกับ กระทรวงศึกษาธิการไม่ชัดเจนดำเนินการไม่ต่อเนื่อง2.เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการคัดกรองเด็กนักเรียนด้านIQ EQ การประเมินด้านการเรียนรู้ และการช่วยเหลือดูแลนักเรียนกลุ่มเสี่ยง3.ขาดคู่มือแนวทางการดำเนินงาน/สื่อเอกสารความรู้แก้ไขปัญหาภาวะอ้วนในนักเรียน เพื่อสนับสนุนเครือข่ายโรงเรียน/สพท.เขต/รพ.สต. 1.ส่วนกลางควรประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการและท้องถิ่นให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญในการผลักดันการดำเนินงานตามนโยบาย “นักเรียนไทยสุขภาพดี” 2.ส่วนกลางจัดประชุม/อบรม/พัฒนาทักษะ แก่เจ้าหน้าที่ ด้านโภชนาการ การคัดกรองด้านสติปัญญาเด็กวัยเรียน การช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง 3.ส่วนกลางสนับสนุนสื่อเอกสารวิชาการการดำเนินงานให้พื้นที่ทันต่อการใช้ดำเนินการ ข้อเสนอแนะ

  20. แผนสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น (15-21 ปี) สถานการณ์ • อัตราการคลอดของมารดาอายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 18.35 • อัตราการคลอดของมารดาอายุ 15-19 ปี 57.95 ต่อพัน • อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนชาย 15 ปี • อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชาย ม 5 ร้อยละ 67 • ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อายุ 15-19 ปี ร้อยละ 5.3 • สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ร้อยละ 86 • ชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียน 38 แห่ง • ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ 11 แห่ง • ชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน 10 แห่ง สรุปปัญหา • การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น • วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ • วัยรุ่น เข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ง่าย

  21. ผลลัพธ์ • มีระบบบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น ครอบคลุมทุกอำเภอ • มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาและชุมชน ครอบคลุมทุกอำเภอ มาตรการ/โครงการ

  22. สรุปแผนงานการดูแลสุขภาพวัยรุ่นสรุปแผนงานการดูแลสุขภาพวัยรุ่น • มี 4 มาตรการ • งบประมาณ

  23. ปัญหาอุปสรรค 1) การดำเนินงานระบบบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นในโรงพยาบาล ยังไม่ครอบคลุม 2) วัยรุ่นและเยาวชน ยังคงมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่ป้องกัน มีพฤติกรรมเสี่ยงที่ไม่ ปลอดภัย ข้อเสนอแนะ • หน่วยงานส่วนกลาง ควรกำหนดให้ระบบบบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นเป็นนโยบายเพื่อให้บริการได้อย่างครอบคลุม และมีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นเข้าถึงบริการ • 2) ส่วนกลางควรทำบันทึกความร่วมมือกันในการส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย โดยกระทรวง • ศึกษาธิการสนับสนุนเรื่องการเรียนการสอนด้านเพศวิถีศึกษา กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น • กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนในการเข้าถึงถุงยางอนามัยคุณภาพดี ราคาถูก • หน่วยงานด้านสาธารณสุขสนับสนุนในเรื่ององค์ความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง • 3) ส่วนกลางควรประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้ผู้บริหารสถานศึกษาต้องให้ • ความสำคัญในการผลักดันในเกิดการเรียนการสอนด้านเพศวิถีศึกษาในโรงเรียน โดยการ • กำหนดให้เป็นนโยบายและประสานการดำเนินงานตั้งแต่ส่วนกลางมอบให้ครูผู้สอนได้ถือปฏิบัติ • ต่อไป และขยายให้ครอบคลุมกลุ่มเยาวชนให้มากขึ้น

  24. แผนส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (DM/ HT/ CA Cervix / CA Breast/อุบัติเหตุ) อัตราป่วยต่อแสน ปชก (ปี 46-55) อัตราตายต่อแสน ปชก (ปี46-55) การคัดกรอง DM/HT ใน ปชก อายุ 15 ปีขึ้นไป /กลุ่มเสี่ยงที่พบ ปี 2556 กลุ่มป่วยได้รับการตรวจ ตา ไต เท้า ปี 2556 เท้า ไต

  25. DM/HT • ประเด็นปัญหา • 1. การคัดกรองDM HTไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย • 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไม่ครอบคลุมขาดการติดตามอย่างต่อเนื่องไม่มีระบบรายงาน • 3. ผู้ป่วย DM HTเข้าถึงบริการน้อย การตรวจ ตา ไต เท้า ยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย • การจัดการเชิงระบบ (คณะกรรมการ ทีมงาน แนวทางการดำเนินงาน ระบบข้อมูล การกำกับติดตาม ประเมินผล ) • ยังดำเนินการได้ไม่ดี ต้องปรับปรุงและพัฒนา • 5.ความร่วมมือของ บุคคล ชุมชน ภาคีเครือข่าย ในการดูแลตนเอง ดูแลชุมชนให้ลดเสี่ยง ลดโรค ยังไม่ชัดเจน ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. การจัดการเชิงระบบที่มีประสิทธิภาพ (คณะกรรมการ ทีมงาน กระบวนการทำงาน ระบบข้อมูล การกำกับติดตาม) 2. คลินิก NCD ในรพ.มีคุณภาพ ผู้ป่วย DM HTเข้าถึงบริการ 3.กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บุคคล ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนในการ จัดการลดเสี่ยง ลดโรค มาตรการจังหวัด มาตรการที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพทีมในการจัดการเชิงระบบป้องกันควบคุมโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง -ระดับจังหวัดมี 1 โครงการ (โครงการพัฒนางาน NCD) /ระดับอำเภอมี 11 โครงการ มาตรการที่ 2 พัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ - ระดับจังหวัด 2 โครงการ ( โครงการพัฒนาระบบบริการดูแลผู้ป่วยฯ /โครงการตรวจติดตาม ความดันโลหิตด้วยตนเองฯ) ระดับอำเภอมี 15 โครงการ มาตรการที่ 3 ส่งเสริมการเฝ้าระวังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มปกติกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และ สนับสนุนภาคีเครือข่ายในการลดปัจจัยเสี่ยง - ระดับจังหวัด 2 โครงการ (โครงการสร้างกระแสลดอ้วนลงพุงฯ / โครงการองค์กรไร้พุงมุ่งลด การบริโภคหวานฯ) ระดับอำเภอมี 17 โครงการ

  26. ผลงานรอบ 3 เดือน DM/HT 1.ผลลัพธ์ การจัดการเชิงระบบที่มีประสิทธิภาพ 1.1 มี System manager ระดับจังหวัด/ทำงานเป็นทีม 1.2 มี PM อำเภอ /ประชุมร่วมกัน 2 ครั้ง 1.3 จัดทำนโยบาย NCD เพื่อเป็นทิศทางในการดำเนินงาน 1.4ทบทวนคณะกรรมการ NCD Board จังหวัด 1.5 พัฒนาระบบข้อมูล NCD /ใช้ข้อมูลจาก (Provisจังหวัด) 1.6 นิเทศติดตามงาน 1.7 สรุปงาน NCD เข้าเวทีประชุมผู้บริหาร 1.8 จัดทำแนวทางการคัดกรองให้ผู้ปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ 1. งาน NCD มีหลายกลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ปฏิบัติต้องการความชัดเจนในการปฏิบัติงาน /ดูแลในแต่ละกลุ่ม ข้อเสนอแนะ อยากให้ส่วนกลางจัดทำคู่มือ/มาตรฐานการดำเนินงาน NCD ในทุกกลุ่มสนับสนุนพื้นที่ 2. ในปีงบ 57 จังหวัดจะใช้ข้อมูล NCD ในระบบอิเลคทรอนิค และกำกับติดตามให้พื้นที่บันทึกข้อมูลในระบบให้สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ อยากให้ส่วนกลางพัฒนาระบบข้อมูล NCD ให้เป็นระบบเดียวกัน 2.ผลลัพธ์ คลินิกNCD ใน รพ.มีคุณภาพผู้ป่วย DM /HTเข้าถึงบริการ 2.1 คืนข้อมูลให้หน่วยบริการ/case manager และ PM อำเภอ /นำข้อมูลเข้าถึงบริการของผู้ป่วย(ตรวจตา ไต เท้า) ไปวางแผนจัดบริการ 2.2 จัดสรรงบกองทุนโรคเรื้อรังปี57 ให้ รพ.(ตามรายหัวและคุณภาพ) 2.3 เข้ารับนโยบายและแนวทางการประเมินรับรองคลินิกNCD คุณภาพ จากสำนักโรคNCD/ 6-7 มค57 ณ โรงแรมริชมอนด์ 3.ผลลัพธ์ กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคล ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนในการจัดการลดเสี่ยง ลดโรค 3.1 ผลงานคัดกรอง /ข้อมูลจากProvisจังหวัด คัดกรอง DMได้ 5.3% พบกลุ่มเสี่ยง 5.7% (จากจำนวนคัดกรอง) คัดกรอง HT ได้ 5.4%พบกลุ่มเสี่ยง 11.6% (จากจำนวนคัดกรอง) 3.2 ขับเคลื่อนองค์กรไร้พุงในเวทีประชุมหัวหน้าส่วนราชการ 3.3 PM จังหวัดและPMอำเภอ กำหนดรูปแบบเก็บผลงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.4 IT จังหวัดประมวลผลข้อมูลในระบบ ตามปิงปอง 7 สี ให้พื้นที่เข้าถึงข้อมูล

  27. CA Cervix / CA Breast สถานการณ์ มะเร็งเต้านม อัตราป่วย ปี 54 =58.5, ปี 55 =77.8 ต่อแสน ปชก อัตราตาย ปี 54 =5.9, ปี 55 = 5.9 ต่อแสน ปชก มะเร็งปากมดลูก อัตราป่วย ปี 54 =27.9, ปี 55 = 84.3 ต่อแสน ปชก อัตราตาย ปี 54 =3.9, ปี 55 = 3.7 ต่อแสน ปชก -คัดกรอง Pap smear(ผลงานสะสมปี 53-56) สตรีอายุ 30-60 ปี คัดกรองได้ 42.6% พบเซลล์ผิดปกติ 1,053 คน (1.2%) Low Grade 0.71% High Grade 0.44% CA 0.05% -คัดกรองมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-70 ปีตรวจเต้านมด้วยตนเอง 79.8% -พบผิดปกติ 0.14% -ส่งต่อผู้ผิดปกติเพื่อวินิจฉัย 54.5% ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่เข้ารักษาใน รพ 93 คน -ป่วยเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่ 1+2 18.3% ประเด็นปัญหา 1.การตรวจคัดกรอง CA Cervix ในสตรีเป้าหมายยังไม่ได้ ตามเกณฑ์ 2.การนำเข้าข้อมูล Pap ในระบบขาดผลงานความ ครอบคลุม (ตรวจคัดกรองกับหน่วยบริการที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ) 3.ไม่สามารถเก็บข้อมูลมะเร็งแยกระยะต่างๆได้(แพทย์ไม่ระบุ) 4.ผลงานตรวจเต้านมด้วยตนเอง เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ยังไม่ได้ประเมินคุณภาพ ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี รายใหม่ เพิ่มขึ้น 2. สตรีอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและมีคุณภาพตามเกณฑ์ 3. สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรกเพิ่มขึ้น 4. ลดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสตรี

  28. มาตรการระดับจังหวัด มาตรการที่ 1. เร่งรัดการตรวจคัดกรอง Pap smear ให้ได้ตามเกณฑ์ โครงการระดับจังหวัด มาตรการที่ 2. ประเมินคุณภาพการตรวจเต้านมด้วยตนเองในสตรี มาตรการที่ 3. จัดการระบบข้อมูลสตรีเป้าหมาย การคัดกรอง และการแยกระยะผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ระดับจังหวัดจัดทำ 1 โครงการ คลุม 3 มาตรการ คือ โครงการรณรงค์และเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ระดับอำเภอจัดทำ 9 โครงการ ครอบคลุม 3 มาตรการ เช่นเดียวกับจังหวัด CA Cervix / CA Breast ผลการดำเนินงานรอบ 3 เดือน 1. มะเร็งปากมดลูก คัดกรอง Pap smear ผลงานสะสม 42.76% 2. มะเร็งเต้านม การคัดกรองอยู่ในระหว่างการประมวลผลจากฐานข้อมูล ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมจากโปรแกรม BCSS ศูนย์อนามัยที่ 4 ปี พ.ศ 2556 ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมทั้งหมด 126 คน In situ = 8.73% ระยะที่ 1 = 5.55% ระยะที่ 2 =16.66% ระยะที่ 3=7.14% ไม่ระบุ =22.22% ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. ผลงานการคัดกรองในพื้นที่เข้าถึงยาก กลุ่มที่ปฏิเสธและในพื้นที่เขตเมืองและในเขตเทศบาล ยังต่ำ ในระดับจังหวัดได้มีการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานร่วมกัน เพื่อนำมาวางแผนในการบริหารจัดการงบประมาณการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่ผลงานต่ำ ข้อเสนอแนะ ส่วนกลางควรสร้างกระแสการตรวจคัดกรองในภาพรวม 2. การจัดการข้อมูลคัดกรองของหน่วยบริการ จากโปรแกรม/ผลงานความครอบคลุม และการแยกระยะผู้ป่วย มะเร็งที่วินิจฉัยครั้งแรก ยังไม่ครบถ้วน ข้อเสนอแนะ สถานบันมะเร็งฯ ควรประมวลผลข้อมูลเฉพาะรายใหม่ให้จังหวัด(ผลงานสะสม) เพื่อนำข้อมูลมาใช้ได้ ส่วนข้อมูลแยกระยะ Service Plan ควรกำหนดเป็นมาตรฐานในการรายงาน

  29. อุบัติเหตุจราจร • สถานการณ์ • อัตราตายจากอุบัติเหตุจราจรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • ประชาชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมน้อยในการป้องกันอุบัติเหตุ • FR ยังไม่ครอบคลุมทุกตำบล • ผลลัพธ์ที่ต้องการ • มี FR ครอบคลุมทุกตำบล • ห้อง ER ได้มาตรฐานทุกแห่ง • อัตราตายจากอุบัติเหตุจราจรลดลง • จากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5 • ผลการดำเนินงานรอบ 3 เดือน • มีผู้เสียชีวิตทุกกลุ่มอายุจำนวน 55 ราย อัตราตาย 6.51 ต่อแสนประชากร • กลุ่มวัยทำงานเสียชีวิตจำนวน 46 ราย อัตราตาย 7.53 ต่อแสนประชากร (ร้อยละ 83.63 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด)

  30. สรุปแผนส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัยทำงาน (เบาหวาน ความดัน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก อุบัติเหตุ) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มี 3 มาตรการ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มี 3 มาตรการ อุบัติเหตุ มี 4 มาตรการ

  31. แผนสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการแผนสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการ สถานการณ์ ผู้สูงอายุ :-ปชก.ผู้สูงอายุ ร้อยละ 14.81 (125,037 คน)/ปี 2556 -จำแนก 3 กลุ่ม(ตาม ADL) 1. ติดสังคม 98,167 คน (ร้อยละ 78.51) 2. ติดบ้าน 21,493 คน (ร้อยละ 17.19) 3. ติดเตียง 5,377 คน (ร้อยละ 04.30) - มี รพ.120 เตียงขึ้นไป 4 แห่ง ผ่านเกณฑ์คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ 1 แห่ง - ชมรมผู้สูงอายุ 204 ชมรม ผ่านเกณฑ์ 61 ชมรม(ร้อยละ29.90) - ตำบลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ 20 ตำบล(ร้อยละ 19) - วัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ 43 วัด/406 วัด(ร้อยละ 10.59) ผู้พิการ : ปี 2554/17,408 คน ,ปี 2555 /18,957 คน ,ปี 2556/19,343 คน ประเภทความพิการ 1.การเห็น 1,037 คน 2.การได้ยินหรือสื่อความหมาย 1,976 คน (ข้อมูลจาก พมจ.ราชบุรี)3.การเคลื่อนไหว 11,737 คน 4.จิตใจหรือพฤติกรรม,ออทิสติก1,482 คน 5.สติปัญญา 1,666 คน 6.การเรียนรู้ 21 คน 7.พิการซ้ำซ้อน 1,424 คน -บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและจ่ายอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ 10 อำเภอ -คลินิกเวชกรรมฟื้นฟูในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปที่มีคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ 1 แห่ง = 33.33%

  32. สรุปปัญหา 1 การคัดกรองโรคผู้สูงอายุและผู้พิการไม่ครอบคลุม 2 บทบาทหน้าที่คัดกรอง/ดูแล/ส่งต่อผู้สูงอายุไม่ชัดเจน 3 จนท.ขาดความรู้/ทักษะ/การดูแลรักษาผู้สูงอายุ 4 ฐานข้อมูล/รูปแบบประเมินผล/แบบรายงานไม่ชัดเจน 5 การค้นหา/คัดกรอง/ตรวจวินิจฉัย/ออกเอกสารรับรองความพิการพิการไม่ครอบคลุมและเข้าไม่ถึงบริการ (ท74) 7 ข้อมูลคนพิการ ไม่ครบถ้วน หรือนำไปใช้ได้ 8 จนท./อาสาสมัคร/จิตอาสา/ครอบครัวขาดความรู้-ทักษะ การดูแล+ฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ ผลลัพธ์ 1 ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรค –ส่งต่อดูแลรักษาตามระบบ -คนพิการเข้าถึงบริการ ตามสิทธิหลักประกันสุขภาพสำหรับคนพิการ (ท74) 2 มีโครงสร้างเครือข่าย บุคลากรที่ชัดเจนแต่ละระดับ -คลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลทุกระดับมีการเชื่อมโยงรองรับโรคที่คัดกรอง 3 บุคลากรมีความรู้/ทักษะตามเกณฑ์มาตรฐาน 4 ฐานข้อมูลผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาให้ถูกต้องครบถ้วน 6.ชุมชนเข้มแข็ง/มีส่วนร่วม เช่น ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์

  33. สรุปงบประมาณแผนงานผู้สูงอายุและผู้พิการสรุปงบประมาณแผนงานผู้สูงอายุและผู้พิการ

  34. แผนแก้ไขสุขภาพในพื้นที่-แผนอาหารปลอดภัย -แผนการควบคุมโรคติดต่อ -แผนสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ -แผนการมีส่วนร่วมภาคประชาชนแผนแก้ไขสุขภาพในพื้นที่-แผนอาหารปลอดภัย -แผนการควบคุมโรคติดต่อ -แผนสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ -แผนการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  35. แผนอาหารปลอดภัย 1.สถานการณ์ผลการดำเนินงานปี2556

  36. สรุปแผนงานอาหารปลอดภัยสรุปแผนงานอาหารปลอดภัย • มี 9 มาตรการ • งบประมาณ

  37. แผนการควบคุมโรคติดต่อแผนการควบคุมโรคติดต่อ สถานการณ์ • โรคไข้เลือดออก ของจังหวัดราชบุรี ตั้งแต่ • ปี 2552 – 2555 อัตราป่วยมีแนวโน้มลดลง • วัณโรค ในปี 2552 – 2556 อัตราผลสำเร็จ • ของการรักษาวัณโรคมีแนวโน้มดีขึ้น ปี 2556 อัตรา • ความสำเร็จของการรักษาหายคิดเป็น ร้อยละ 89.9 • โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตั้งแต่ • ปี 2532 ถึง 30 มิ.ย. 2556 พบว่ามีแนวโน้มการแพร่ • ระบาดลดลง ผู้ป่วยเอดส์สะสม 5,403 ราย เสียชีวิต • แล้ว 1,045 ราย พบปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อจาก • เพศสัมพันธ์สูงสุด ร้อยละ 91.9 • อหิวาตกโรค ปี 2555 มีผู้ป่วยจำนวน 8 ราย อัตราป่วย • 0.95 ต่อแสนประชากร โดยพบในผู้ป่วยต่างชาติ • ทั้งหมด และในปี 2556 ไม่มีผู้ป่วย • ระบาดวิทยา อำเภอมีทีม SRRT คุณภาพผ่าน • มาตรฐานในรอบ 3 ปี (2554-2556) มีทีม SRRT • ที่ได้รับรองมาตรฐานจาก สคร.4 ราชบุรี จำนวน 8 • อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 80 • อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556 อำเภอ • ที่ผ่านเกณฑ์อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • โดยการประเมินของจังหวัด จำนวน 8 อำเภอ และ • ผ่านการประเมินรับรองโดยสคร.4 ราชบุรี จำนวน 6 อำเภอ อัตราป่วยไข้เลือดออก จ.ราชบุรี ปี 2552-2556 อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคผู้ป่วยเสมหะพบเชื้อ จ.ราชบุรี ปี 2552-2556

  38. มาตรการ/โครงการ • โรคไข้เลือดออก • มาตรการ • ดำเนินการป้องกันโรคก่อนฤดูกาลระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ • 2. การควบคุมโรคอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดการระบาด ไม่ให้เกิดการระบาด(Second generation) • 3. การดูแล รักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ • 4. การบริหารจัดการให้การป้องกันควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ • - กำหนดเป็นผลลัพธ์ของ DHS และ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • โครงการ:โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกระดับอำเภอ/จังหวัด ปี 2557 • วัณโรค • มาตรการ • 1.เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อเชิงรุก • 2.พัฒนาสถานบริการระดับโรงพยาบาลให้มีคลินิกวัณโรคคุณภาพระดับ A ทุกแห่ง • 3.พัฒนาคุณภาพการรักษาด้วยระบบยาระยะสั้นแบบมีพี่เลี้ยงกำกับการกินยา (DOT) • 4.เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมวัณโรคดื้อยาหลายขนาน • 5.พัฒนาระบบการประเมินผล โดยใช้ระบบฐานข้อมูลTBCM • โครงการ • 1.โครงการค้นหาผู้ป่วยเสมหะพบเชื้อรายใหม่ • 2.โครงการเร่งรัดป้องกันควบคุมวัณโรค • 3.โครงการส่งเสริมให้เข้าถึงการดูแลรักษาและควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพและการเสริมสร้าง • พลังชุมชนเพื่องานวัณโรคในประเทศไทย(SSF) ปีที่ 3(กองทุนโลก) • 4.โครงการประชุมปฏิบัติการ DOT meeting • 5.โครงการพัฒนาการใช้โปรแกรม TBCM ให้ครอบคลุมทุกรพ.สต.นำร่อง

  39. มาตรการ/โครงการ(ต่อ) • โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • มาตรการ • 1.เสริมสร้างความรู้ความตระหนักเรื่องการใช้ถุงยางอนามัยป้องกันโรคและบริการให้ • คำปรึกษาตรวจหาการติดเชื้อHIV/โรคติตต่อทางเพศสัมพันธ์ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยง • 2.ส่งเสริมให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่นมากขึ้นครอบคลุม • ประชากรกลุ่มเสี่ยง • 3.ส่งเสริม/ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโรงเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน • ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และอนามัยเจริญพันธ์มากขึ้น • 4. การเฝ้าระวังโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • 5. การพัฒนาระบบบริการด้านบริการให้ คำปรึกษาและดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ • 6. การหนุนเสริมหน่วยบริการในการดำเนินงาน AIDS/STI • โครงการ • 1.โครงการรณรงค์เสริมสร้างความรู้ความตระหนักในประชากรกลุ่มเสี่ยง • 2.โครงการสำรวจ ติดตามตรวจเยี่ยมสถานบริการและพนักงานในสถานบริการ • 3.โครงการโรงเรียนเพศวิถึศึกษาเพื่อเยาวชน • 4.โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย • 5.โครงการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจังหวัดราชบุรี • 6.โครงการนิเทศ ติดตามประเมินผล

  40. มาตรการ/โครงการ(ต่อ) • โรคอหิวาตกโรค • มาตรการ • 1.การเฝ้าระวังและเตรียมความพร้อมในการควบคุมโรค • 2.ควบคุมโรคให้สงบอย่างรวดเร็วโดยไม่ให้เกิด Second generation • โครงการ- โครงการป้องกันควบคุมโรคอหิวาตกโรค • ในระดับจังหวัดและอำเภอ • ระบาดวิทยา • มาตรการ • 1.พัฒนาระบบและเครือข่ายงานระบาดวิทยา • 2.พัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) • 3.กำกับติดตาม และประเมินผล • โครงการ - โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว • อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • มาตรการ • 1.ส่งเสริมสนับสนุนให้อำเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • 2.กำกับติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง • โครงการ - โครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดราชบุรี ปี 2557

  41. 26 มาตรการ • งบประมาณ แผนงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

  42. ผลการดำเนินงานในรอบ 3 เดือน จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จังหวัดราชบุรี ปี 2556 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปี (2551-2555) • ผลการดำเนินงาน รอบ 3 เดือน (ต.ค.- ธ.ค.56) • โรคไข้เลือดออก • ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 332 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 37.08 ต่อแสนประชากร • วัณโรค • อัตราความสำเร็จของการรักษาหายคิดเป็น ร้อยละ 90.63 • เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์วันเอดส์โลก จำนวน 1 ครั้ง • โรคอหิวาตกโรค • ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคอหิวาตกโรค • ระบาดวิทยา • จ.ราชบุรีได้จัดทำทะเบียนรายชื่อทีม SRRT ระดับอำเภอ ที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานระดับพื้นฐานและทีมที่หมดอายุเพื่อของรับรองใหม่ • อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • เตรียมความพร้อมรับการประเมิน โดยสรุปผลงานการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบ 12 เดือน โรคไข้เลือดออก อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคผู้ป่วยเสมหะพบเชื้อ ไตรมาสที่1/2556 วัณโรค

  43. ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ • ปัญหาอุปสรรค • ประชาชนขาดความตระหนักในการป้องกันตนเองจากโรคต่างๆ ไม่ทราบถึงอันตรายของโรค จึงทำให้ไม่มาพบแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติ และไม่ให้ความร่วมมือในการป้องกันโรค กำจัดลูกน้ำยังไม่ดีพอและทำได้อย่างต่อเนื่อง • ขาดการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคต่างๆ • ข้อเสนอแนะ • ส่วนกลางควรประชาสัมพันธ์เชิงกว้าง เช่น ออกสปอร์ตทีวีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสื่อ ที่มีผลต่อประชาชนมาก เพื่อเป็นการเสริมกับการประชาสัมพันธ์ในส่วนที่จังหวัดดำเนินการเองที่อาจเข้าถึงได้ไม่ครอบคลุม • กระทรวงสาธารณสุขควรมีการประสานขอความร่วมมือมาตั้งแต่ระดับกระทรวง เช่น มหาดไทย ศึกษาธิการ เป็นต้น ในการดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

  44. แผน สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ

  45. 5 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนงานสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ

More Related