1 / 31

นางสุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการคณะกรรมการฯ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนฯ 11. นางสุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการคณะกรรมการฯ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2 55 2. กรอบการนำเสนอ. แนวปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

Download Presentation

นางสุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการคณะกรรมการฯ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนฯ 11 นางสุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการคณะกรรมการฯ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2552

  2. กรอบการนำเสนอ • แนวปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2. กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • ทางสายกลาง • ความเพียร ความอดทน มีสติ • ความพอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี • ความรู้ ความรอบคอบ ระมัดระวัง • คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต

  4. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน หลักความ พอเพียง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ วางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง เงื่อนไข

  5. หลักการทรงงาน • เน้นพัฒนา “คน” เพื่อผลประโยชน์ของประชาชน โดย ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ • ยึดหลัก “ภูมิสังคม” ความหลากหลายของระบบภูมินิเวศ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ประเพณี เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา • เน้นการพัฒนาที่เริ่มต้นจาก “การพึ่งพาตนเอง”ดำเนินการด้วยความรอบคอบ วิเคราะห์ ระมัดระวัง “ทำตามลำดับขั้นตอน”

  6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯค้นคว้าวิจัยเรื่องป่าไม้เสื่อมโทรม และความชุ่มชื้นแก่ผิวดิน • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ศึกษาวิจัยดินพรุภาคใต้ • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ พัฒนาอาชีพทั้งทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือนและการพัฒนาหมู่บ้านตัวอย่าง • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ พัฒนาที่ดินที่เสื่อมโทรม • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ปรับปรุงระบบนิเวศบริเวณชายฝั่งและการประมง

  7. กรอบการนำเสนอ • แนวปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2. กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  8. ทุนหกด้านของประเทศ ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) ทุนกายภาพ (Physical Capital) ทุนวัฒนธรรม (Cultural Capital) ทุนทางสังคม (Social Capital) ทุนมนุษย์ (Human Capital) ทุนทางการเงิน (Financial Capital)

  9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 การวิเคราะห์ทุน • มนุษย์ • วัฒนธรรม • สถาบันสังคม ทุนทางสังคม ความพอเพียง • การออม/หนี้สิน • การขยายตัวทาง • เศรษฐกิจ • เสถียรภาพเศรษฐกิจ ทุนทางเศรษฐกิจ มีมิคุ้มกัน ความมีเหตุผล • ป่าไม้/ดิน/น้ำ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทุนทรัพยากรฯ

  10. กรอบแนวคิด น้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เป็นแนวปฏิบัติ ยึด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคีการพัฒนา วิสัยทัศน์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน: Green and Happiness Society ทุน สังคม ทุนเศรษฐกิจ ทุน ทรัพยากรฯ พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทย สู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ มุ่งเสริมสร้างทุนของประเทศ ให้เข้มแข็งและ นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ให้สมดุล และยั่งยืน พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ความยั่งยืน 9

  11. จากแผนฯ 10 ................... ถึงปัจจุบัน 2547 2 ปีแรกของแผนฯ 10 (50 - 51) เชื่อมโยงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เช่นASEAN +3, ASEAN +6 เป็นต้น สัดส่วนการส่งออกไทยในโลก เพิ่มขึ้นเป็น 1.12% (ช่วงแผนฯ 9 = 1.08%) ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก • ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเนื่อง • มีการจดสิทธิบัตรเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย เช่น สิทธิของยีนความหอมในข้าว เทคโนโลยี * ยังคงมีโรคระบาดใหม่เกิดขึ้น เช่น ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (AH1N1) สังคม แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และผู้หลบหนีเข้าเมือง เช่น โรฮิงญา • สิ่งแวดล้อม ภาวะอากาศแปรปรวน น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง • ราคาน้ำมันยังคงผันผวน ทำสถิติสูงสุดที่ 147 $/bbl (กลางปี 51) • การผลิตพลังงานทางเลือกจากพืช ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี

  12. บริบทใหม่ของโลกกับการปรับตัวของประเทศไทยบริบทใหม่ของโลกกับการปรับตัวของประเทศไทย ความเสี่ยงใหม่หลังวิกฤตเศรษฐกิจโลก • อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกในระยะปานกลางมีแนวโน้มที่จะอยู่ในระดับต่ำแต่บทบาทของภูมิภาคเอเซียมีเพิ่มสูงขึ้น • การปรับตัวของตลาดการเงินในลักษณะ Multiple financial nodes และมีระบบใหม่ในการกำกับดูแลสถาบันการเงินที่เข้มงวดมากขึ้น เงินดอลล่าร์ สรอ. ลดบทบาทลงในเศรษฐกิจโลก • ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน การขาดแคลนน้ำและพื้นที่การเกษตร และแหล่งพลังงานดั่งเดิมในอนาคต • ผลกระทบด้านสังคม การว่างงานและความยากจนเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่แนวโน้มสังคมผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น • ภาวะโลกร้อน วิกฤติมีผลกระทบทั้งด้านบวกและลบ แต่ยังเป็นวาระเร่งด่วนของความยั่งยืนระดับโลก ซึ่งมีผลต่อทั้งด้านการค้า การลงทุน การทำธุรกิจ และผู้บริโภค • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในอนาคต • การบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ เปลี่ยนไปสู่ระบบ State Capitalism, Sustainable capitalism (หรือ Creative Capitalism) มากขึ้น • การค้าการกีดกันทางการค้าเพิ่มสูงขึ้น ในขณะเดียวกันมีแนวโน้มความร่วมมือในแต่ละภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น • การเมืองโลก บทบาทของสหรัฐฯ ลดลง ในขณะที่กลุ่มที่มีบทบาททางเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงภูมิภาคเอเซียมีบทบาทในเวทีโลกเพิ่มขึ้น จุดอ่อนภายในประเทศ ขาดความสมานฉันท์ นำไปสู่พลังร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยอ่อนแอ วิกฤตเศรษฐกิจโลก 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564 2566 2568 2570

  13. ความสมดุลของสามทุนและ วิสัยทัศน์ฯ 2570 แผนฯ10 สร้างความสมดุลระหว่าง 3 ทุน เพื่อสร้างความคุ้มกัน ภาคการเงินเข้มแข็งมากขึ้น เศรษฐกิจ ภายในดีขึ้นแต่บริบทภายนอกส่งแรงกดดันเพิ่มสูงขึ้น ความสมดุล ความแตกแยกภายในยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ทรัพยากร ธรรมชาติ สังคม วิสัยทัศน์ฯ 2570: แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลกใน 20 ปี ข้างหน้า 1. การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาค 5. ประชากรสูงอายุ 2. เศรษฐกิจโลกจะเปลี่ยนศูนย์กลางอำนาจมาอยู่ที 6. ปัญหาด้านพลังงาน ประเทศแถบเอเชียมากขึ้น 3. การเปลี่ยนแปลงด้านการเงินโลก 7. ปัญหาภัยคุกคามจากภาวะโลกร้อน 4. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกับการดำรงชีวิตของมนุษย์

  14. GLOBAL TREND Industrial Society Knowledge Based Society Post Knowledge Based Society ≫ ประชาคมโลกกำลังก้าวจากสังคมฐานความรู้สู่สังคมมนุยนิยม ดูแล แบ่งปันความรู้เพื่อการอยู่รอด เชื่อใจ ไม่ปกป้องความรู้ ≫ สังคมมีปฏิสัมพันธ์มีมากขึ้น แต่มีอิสระแนวตั้งผูกกันแนวนอน” มีการสร้างโอกาสใหม่ จากการแบ่งปันข้อมูล ความรู้

  15. ความเป็นมาและแนวโน้มสู่ Humanistic Society ในปัจจุบัน Network Society, based on knowledge and innovation information and communication technologies, growing dialogue and interaction between groups and individuals. opening the way for new forms of social awareness, public debate and citizen involvement in all matters of public interest Trust Network Sharing ความรู้ คุณธรรม Open Source World Community Grid Open Innovation Blogosphere การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนี้เกิดขึ้นจากรูปแบบการสร้างเครือข่ายของประชาคมโลกที่อยู่อย่างเอกเทศหากแต่ยังพึ่งพากัน ที่มา: wikinomic 2006

  16. การคาดประมาณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทยในอนาคตการคาดประมาณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทยในอนาคต 2568 2548 2543 Female กลุ่มอายุ 55 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนมากขึ้น กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จะลดลง กลุ่มอายุ 20-55 ปี จะคงที่  แรงงานจะเพิ่มขึ้นจำนวนไม่มากขณะที่ผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัญหาโรคทางสังคม: ยาเสพติด/เอดส์/ติดการพนัน/เสี่ยงทางเพศ/ บริโภคอาหารขยะ/ปัญหาทางจิตขยายตัวอย่างมาก /หย่าร้าง  ปัญหาทางสังคมส่วนใหญ่อยู่ที่วัยเด็กและเยาวชน (10-30ปี)

  17. ผู้ติดเชื้อHIVจะชุกในกลุ่มอายุ 25-29 และกลุ่มอายุ 30-34 ปี : in 2006. มีผู้ติดเชื้อประมาณ 320,000 คน พบว่า> 80 % อยู่ในกลุ่มอายุ 24-49 ซึ่งเป็น the most productive workers ผลิตภาพแรงงานลดลง

  18. กรอบการนำเสนอ • แนวปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2. กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  19. ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์: ด้านความท้าทายและโอกาสของเศรษฐกิจไทย ระยะสั้น: รักษาอัตราการขยายตัวและลดความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ระยะยาว : ปรับตัวให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลง • ขยายตลาดและสร้างความร่วมมือในภูมิภาค • พัฒนาและปรับโครงสร้างภาคการผลิต เศรษฐกิจ/การเงินโลก • สร้างความได้เปรียบด้านฐานการผลิตภาคการเกษตร • พัฒนามูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร และอาหาร • การพัฒนาพลังงานทดแทน อาหาร พลังงานและสิ่งแวดล้อมโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม • Green Job / Green Growth / Green Economy • ขยายภาคธุรกิจบริการดูแลผู้สูงอายุ • การแพทย์และสุขภาพ และ Long stay tourisms สังคมผู้สูงอายุ • ส่งเสริมความร่วมมืทางการผลิต / การค้า / การลงทุน • พัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม • สร้างความร่วมมือเพื่อลดความเสี่ยงทางการเงิน ความร่วมมือประเทศเพื่อนบ้าน / ภูมิภาค

  20. แนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจแนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ปัจจัยแวดล้อมสำคัญ (Enabling factors) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ พัฒนาเครือข่ายคลัสเตอร์ และเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทาน • ความปลอดภัยด้านอาหาร • ผลิตสินค้าเกษตรที่มีโอกาสใหม่ เช่น พืชพลังงานทดแทน • ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพสูง/ อุตสาหกรรมใหม่ • อุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มดีขึ้น • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว • พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ อาทิ บริการสุขภาพ ค้าส่งค้าปลีก โครงสร้างพื้นฐาน/ ลอจิสติกส์/ พลังงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นโยบายเศรษฐกิจมหภาค ทรัพยากรมนุษย์ (การศึกษา/แรงงาน) กฎหมาย/ ข้อบังคับต่างๆ การปฏิรูประบบราชการ • เพิ่มประสิทธิภาพการบริการภาครัฐ • สนับสนุนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน • จัดการระบบE-Government • ส่งเสริมการออม • สนับสนุนการเงินฐานราก • ปรับโครงสร้างภาคการเงิน • เพิ่ม ปสภ รัฐวิสาหกิจ • การลงทุนรัฐร่วมเอกชน (PPP) • กระจายอำนาจสู่ภูมิภาค/การคลังยั่งยืน • Pro-poor policy • ความร่วมมือในภูมิภาค(Trade/ Investment/ Tourism/ Energy/ Finance) • New market • opportunities

  21. Natural Capital (NC) Cultural Capital (CC) Financial Capital (FC) ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์: ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แนวนโยบาย พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ กำหนดนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้ชัดเจนและบูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงาน Economic Capital (EC) ปรับโครงสร้างการผลิตและบริการของประเทศอย่างต่อเนื่อง ให้มุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Creative and Green Economy) Social Capital (SC) Natural Capital (NC) ปัจจัยสนับสนุน และสภาพแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมภายในประเทศ โดยเฉพาะโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารและคมนาคม การส่งเสริมการลงทุนด้านการ วิจัยและพัฒนา การจัดหาแหล่งเงินทุน การพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด การพัฒนาการตลาดให้ทันต่อคู่แข่งขันและการ เปลี่ยนแปลงของโลก Physical Capital (PC) ให้คุณค่าต่อทรัพย์สินทางปัญญาจากความคิดสร้างสรรค์ โดยมีกฎหมาย และกฎระเบียบที่ช่วยในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงการใช้ ทรัพย์สินทางปัญญาหรือความคิดเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน Human Capital (HC) Social Capital (SC) ขับเคลื่อนและสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการ และพัฒนาบุคลากรวิชาชีพ เชิงสร้างสรรค์ให้ตรงกับความต้องการของตลาด พัฒนาสถาบันและบูรณาการบทบาทของสถาบันที่เกี่ยวข้อง ให้เชื่อมโยงเป็น เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กลไกขับเคลื่อน ศึกษาวิจัยและพัฒนาเชิงลึกในสาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์และทุนวัฒนธรรม ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง

  22. ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์: ด้านโอกาสบนวิกฤตภาวะโลกร้อน การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ ‘เศรษฐกิจสีเขียว’ การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมสู่การผลิตแบบ Green/Low Carbon และใช้พลังงานทดแทน การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงนโยบายพลังงานและ ขนส่งไปสู่การใช้พลังงานสะอาดและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการบริการด้านสุขภาพ การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน การฟื้นฟู ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม การพัฒนาตลาดคาร์บอนเครดิต และการใช้ประโยชน์จาก CDM การใช้ประโยชน์จากมาตรการ สร้างรายได้จากการอนุรักษ์: REDD, PES, Biodiversity Offsets การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน การใช้ประโยชน์จากการเป็นภาคีในประชาคมอาเซียน การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน

  23. ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์: ด้านสถาปัตยกรรมทางสังคม สังคมมีคุณภาพ ทุนมนุษย์เข้มแข็ง ภูมิคุ้มกันแข็งแกร่ง สร้างค่านิยมร่วม: หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/ความดีงาม/ธรรมาภิบาล คุณภาพทุนมนุษย์ (Human Quality) คุณภาพสังคม (Social Quality) เรียนรู้ศาสตรวิทยการ ตามศักยภาพ/อายุ เน้นคนเป็นศูนย์กลาง โครงสร้างพื้นฐานทางสังคม ความยุติธรรม/ สันติภาพ สื่อทุกรูปแบบ สถาบันศาสนา การเมืองการปกครอง สถาบันครอบครัว ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นที่เข้มแข็งเป็นฐานรากของสังคมที่มีคุณภาพ • รูปแบบความสัมพันธ์ในชุมชนและการจัดการเชิงพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย • การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม (SP2) เป็นคานงัด นำไปสู่การปรับฐานการ • พัฒนาสังคมให้เป็นธรรมยิ่งขึ้นโดยเฉพาะในชุมชนและท้องถิ่น • เน้นการกระจายอำนาจและการบริหารแบบบูรณาการทุกทุน 23 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  24. ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์: ด้านสัญญาประชาคมใหม่ “สัญญาประชาคมใหม่” รากฐานใหม่เพื่อแก้ไขวิกฤติ กรอบแนวคิด เน้นกระบวนการ ยึดประชาชนและพื้นที่เป็นตัวตั้ง มีลักษณะเป็นพลวัตร เป้าประสงค์ สัญญาประชาคม การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน • สังคมมีค่านิยมร่วม ในเรื่องวัฒนธรรมประชาธิปไตยและวัฒนธรรมธรรมาภิบาล • ภาคีร่วมกันขับเคลื่อน “สัญญาประชาคมใหม่” บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับ เป็นขั้นเป็นตอน ทุกพื้นที่ การปรับโครงสร้างภาคเกษตรไปสู่การผลิตที่ยั่งยืน คือ ค่านิยมที่ประชาชนตกลงร่วมกันด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และใช้เป็นแนวปฏิบัติร่วมกันในสังคม เพื่อให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ปลอดภัยและมีความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ทิศทางการพัฒนา • ปรับกระบวนทัศน์ใหม่ ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง • สร้างค่านิยมร่วม ที่ยึดมั่นในความดี ความสุจริต และความรับผิดชอบต่อสังคม • พัฒนากระบวนการสัญญาประชาคม โดยสร้างความคิดร่วมให้เกิดการยอมรับ และปฏิบัติในทุกระดับ/พื้นที่ • สร้างโครงสร้าง กลไก การบริหารจัดการทุกภาคส่วนให้มีธรรมาภิบาล • ขับเคลื่อน/วางระบบการติดตามประเมินผล ในทุกระดับ

  25. การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับบริบทการพัฒนาประเทศ ความรอบรู้ คุณธรรม ความเพียร คนเป็นศูนย์กลาง บนพื้นฐานดุลยภาพเชิงพลวัตร พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน คน สังคม การพัฒนาคุณภาพคน สังคมแห่งศีลธรรม ฐานความรู้ ดุลยภาพจิตใจ-วัตถุ พึ่งพาตนเอง ปรับตัวรู้เท่าทันโลก สร้างภูมิคุ้มกันแก่ครอบครัวชุมชน สังคม ประเทศ“สังคม อยู่เย็น เป็นสุขร่วมกัน” การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงสู่ภายนอก ชนบท-เมือง ชุมชน ดุลยภาพภายใน การพัฒนาเศรษฐกิจไทยบนฐานการผลิตที่แข็งแกร่งด้วยองค์ความรู้ สร้างคุณค่าเพิ่ม จัดการความเสี่ยง/ ภูมิคุ้มกัน เศรษฐกิจ ดุลยภาพภายใน- โลกาภิวัตน์ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพ สวล. อนุรักษ์-ใช้ประโยชน์ ทรัพยากรฯ ดุลยภาพภายใน การเสริมสร้างระบบและวัฒนธรรมธรรมาภิบาล และประชาธิปไตย แข่งขัน-กระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม ธรรมาภิบาล เพิ่มอำนาจ แก่ประชาชน

  26. การขับเคลื่อนแผนฯ 10 สู่การปฏิบัติ : การพัฒนาคน ชุมชน และสังคม ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ ศธ. สธ. พม. รง. วธ. ยธ. วท. อต. มท. กษ. พณ. ทก. ทส. กำหนดแนวทางลงทุนสำคัญตามยุทธศาสตร์ การติดตาม ประเมิน ผล พัฒนา ระบบ ข้อมูล ศึกษา วิจัย สร้าง องค์ ความรู้ เชิงลึก ภาครัฐ/ ประสานกระบวนการ จากบนลงสู่ล่าง+จากล่างขึ้นบน จังหวัด ดูแลการพัฒนาสังคม ภายใต้ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข พื้นที่/ ภูมิภาค อปท. ชุมชน ปัจเจก/ครอบครัว แผนท้องถิ่น/ แผนชุมชน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา

  27. การดำเนินงาน ของ สศช. เสริมสร้างเครือข่ายการทำงานของวุฒิอาสา ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการแผนชุมชน เสริมสร้างชุมชน เข้มแข็งตามปรัชญาฯ ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่สนับสนุนปรัชญาฯ ศึกษาองค์ความรู้ การทำงานอย่างเป็นเครือข่ายของทุกภาคส่วน เพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนสามารถพัฒนาตนเอง ได้อย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืนบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  28. การจัดตั้งมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม • ของประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 2. เพื่อเป็นศูนย์กลางให้การสนับสนุนหรือรับการ • สนับสนุนจากภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจ • เอกชน องค์กรประชาชน องค์การสาธารณ • ประโยชน์ องค์การระหว่างประเทศ ในเรื่องที่ • เกี่ยวกับการ พัฒนาประเทศตามปรัชญาของ • เศรษฐกิจพอเพียง วัตถุ ประสงค์ มูลนิธิ

  29. สื่อเผยแพร่

  30. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกลไกนำไปสู่... 1. ระบบเศรษฐกิจและสังคมฐานความรู้ 2. ระบบเศรษฐกิจแลระบบสังคมคุณธรรม 3. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแห่ง ความสุข 4. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมที่ยั่งยืน

  31. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติwww.nesdb.go.thสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติwww.nesdb.go.th

More Related