1 / 31

สรุปงานวิจัย การศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการà¸

สรุปงานวิจัย การศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ ในประเทศไทย. เสนอ รศ.ดร.ดิลก บุญเรืองรอด. ผู้เรียบเรียง อรพิมพ์ มงคลเคหา. รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 6608601: เทคนิควิธีในการวิจัยและพัฒนา ตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยี)

keena
Download Presentation

สรุปงานวิจัย การศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการà¸

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปงานวิจัยการศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทย เสนอ รศ.ดร.ดิลก บุญเรืองรอด ผู้เรียบเรียง อรพิมพ์ มงคลเคหา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 6608601: เทคนิควิธีในการวิจัยและพัฒนา ตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยี) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

  2. การศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทยการศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทย ผู้วิจัย อนุดา ทวัฒน์สิน วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2545

  3. การศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทยการศึกษาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทย คำสำคัญ: การถ่ายทอดเทคโนโลยี การป้องกันมลพิษ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ของเสียจากอุตสาหกรรมการผลิต การบำบัด/กำจัด การแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ (END OF PIPE) เสียค่าใช้จ่ายต้นทุนการผลิตสูง  ลักลอบปล่อยมลพิษ มลพิษสิ่งแวดล้อม

  4. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ) เทคโนโลยีการป้องการมลพิษ = เทคโนโลยีสะอาด โครงการเทคโนโลยีสะอาดเพื่อประสิทธิภาพอุตสาหกรรม หรือ CPIE ใน จ.สมุทรปราการ ผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยี บริษัท ICF Consulting ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี โรงงาน โครงการ 20/20+ โครงการหลักของ CPIE

  5. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ) โครงการ 20/20+ ในโรงงาน ลด การใช้น้ำ น้ำเสีย 20% ลด การใช้พลังงาน 20% พัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้านต่าง ๆ 20%

  6. หลักการป้องกันมลพิษ SOURCE REDUCTION REUSE & RECYCLE TREATMENT DISPOSAL

  7. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาแนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษของโครงการเทคโนโลยีสะอาดเพื่อประสิทธิภาพอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการ (CPIE) • เพื่อกำหนดหาปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทย

  8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • นำปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ มากำหนดกรอบในการตัดสินใจเลือกแนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษที่เหมาะสมกับประเทศไทย • เพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษสู่ภาคเอกชน • เพิ่มความสำเร็จในการนำแนวทางการป้องกันมลพิษไปใช้ ในการลดมลพิษและปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน

  9. ขอบเขตการวิจัย • ศึกษากลุ่มตัวอย่างจากโรงงานที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ จำนวน 253 แห่ง ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ • ตั้งข้อกำหนดไว้ว่าการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษประสบความสำเร็จเมื่อมีการดำเนินโครงการ 20/20+ ครบ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านน้ำ ด้านพลังงาน และด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ

  10. ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ -ประเภทอุตสาหกรรม - ขนาดบริษัท -ระยะเวลาดำเนินการ - ระดับการศึกษาพนักงาน -ระดับการศึกษาผู้บริหาร -เจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม -วิศวกรประจำโรงงาน –เชื้อชาติผู้บริหาร -คุณสมบัติผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม การดำเนินโครงการ 20/20+ ครบ 3 ด้าน น้ำ + พลังงาน + สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ประสบผลสำเร็จ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ ปัจจัยผู้ให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ -วิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยี –หัวข้อการฝึกอบรม -ผู้สอน -ผู้ประสานงาน -สื่อประชาสัมพันธ์ ปัจจัยด้านนโยบายภาครัฐ -สนับสนุนงบประมาณ - นโยบายการเมือง -กฎหมายบังคับ การป้องกันมลพิษ/การผลิตที่สะอาด -มาตรการสนับสนุน ไม่ประสบผลสำเร็จ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ วิสัยทัศน์ผู้บริหาร -ด้านการพัฒนาของบริษัท - ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรมองค์กร การดำเนินโครงการ 20/20+ ไม่ครบ 3 ด้าน

  11. สมมติฐานในการวิจัย • ด้านผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ/การผลิตที่สะอาด • สมมติฐานด้านผู้ให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ/ การผลิตที่สะอาด • สมมติฐานด้านนโยบายภาครัฐ • สมมติฐานด้านสังคมและเศรษฐกิจ

  12. ขอบเขตการวิจัย • กลุ่มตัวอย่างจากโรงงานที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ จำนวน 253 แห่ง • การถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษประสบความสำเร็จ หมายถึง มีการดำเนินโครงการ 20/20+ ครบ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านน้ำ ด้านพลังงาน และด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ

  13. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในงานวิจัย เทคโนโลยี การถ่ายทอดเทคโนโลยี การป้องกันมลพิษ การผลิตที่สะอาด เทคโนโลยีสะอาด นิเวศเศรษฐกิจ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการผลิตที่สะอาด ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยศึกษาทรัพยากรที่มีความจำเป็นต่อการดำเนินโครงการด้านการป้องกันมลพิษ งานวิจัยศึกษาหาปัจจัยหลักในการถ่ายทอดเทคโนโลยี งานวิจัยศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีใหม่ของชาวบ้านในหมู่บ้านเทคโนโลยี ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  14. ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร: โรงงานที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ จำนวน 253 แห่ง ที่ ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดโครงการ CPIE ส่งแบบสอบถามไปยังโรงงานทั้ง 253 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง : จำนวน 90 แห่ง ซึ่งเป็นผู้ส่งแบบสอบถามกลับคืน

  15. การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลปฐมภูมิ: แบบสอบถามส่งให้แก่กลุ่มตัวอย่าง และใช้วิธีการสัมภาษณ์ ผู้บริหารโรงงานที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ และบุคลากรของโครงการเทคโนโลยีสะอาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการ CPIE ข้อมูลทุติยภูมิ: รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานทั้งในประเทศ และต่างประเทศที่มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ

  16. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • แบบสอบถาม โดยมีโครงสร้าง 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การปรับปรุงบริษัทตามโครงการ 20/20+ ( 3 ข้อ) ในด้านน้ำ พลังงาน และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท (8 ข้อ) เกี่ยวกับ ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ประเภท ขนาด ระยะเวลาการดำเนินกิจการ การศึกษา การกำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อมหรือวิศวกรโรงงาน และเชื้อชาติผู้บริหาร ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นในการเข้าร่วมโครงการ 20/20+ (9 ข้อ) เกี่ยวกับ วิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยี หัวข้อการฝึกอบรม ปัจจัยด้านผู้เข้าร่วม ด้านผู้สอน ผู้ประสานงานและสื่อประชาสัมพันธ์ ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นในการบริหารจัดการ 12 ข้อ เกี่ยวกับทัศนคติของผู้บริหารด้านการพัฒนา สิ่งแวดล้อม งบประมาณ เศรษฐกิจ การค้าเสรีและนโยบายรัฐบาล ส่วนที่ 5 คำถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อคิดเห็นอื่น ๆ ที่เป็นปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทย หรือในจังหวัดสมุทรปราการ

  17. การวิเคราะห์ข้อมูล • สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าพิสัย และค่าเฉลี่ย • Chi-Square Test เพื่อใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านต่าง ๆ กับการนำเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษไปใช้ในกลุ่มตัวอย่าง • ค่าสหสัมพันธ์ Spearman Rank Correlation Coefficient เพื่อทดสอบสหสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ชุด • ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Window เป็นเครื่องมือช่วยในการคำนวณข้อมูลสถิติ

  18. ผลของการวิจัย • ข้อมูลเกี่ยวกับการปรับปรุงบริษัทตามโครงการ 20/20+ • ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท • ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ • ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการบริหารจัดการ • ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นอื่น ๆ

  19. สรุปผลการวิจัย 1. ข้อมูลเกี่ยวกับการปรับปรุงบริษัทตามโครงการ 20/20+

  20. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท

  21. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท (ต่อ)

  22. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+

  23. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ (ต่อ)

  24. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ (ต่อ)

  25. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ (ต่อ)

  26. สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ 20/20+ (ต่อ) หมายเหตุ:  หมายถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ  หมายถึง ปัจจัยที่ไม่มีผลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษ

  27. ข้อเสนอแนะ 1. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในประเทศไทย • ภาครัฐจะต้องให้ความช่วยเหลือและกระตุ้นในเรื่องจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม ให้กับ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นบริษัทไทย มากกว่าบริษัทข้ามชาติที่มีผู้บริหารเป็นชาวต่างชาติ • ในการเริ่มโครงการ ฯ ควรจะทำการสำรวจพื้นฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในด้านผู้สอน ผู้ประสานงาน หัวข้อการฝึกอบรม และการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ • อุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่ยังต้องการมีการบังคับให้ปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม ดังนั้นวิธีการให้โรงงานเข้าร่วมโครงการด้วยความสมัครใจยังไม่เพียงพอ ควรมีมาตรการบังคับควบคู่ไปกับการควบคุมการปล่อยมลพิษ • ควรมีการสนับสนุนให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษแบบเฉพาะทางในแต่ละภาคอุตสาหกรรม • ควรมีหน่วยงานดูแลด้านการป้องกันมลพิษหรือการผลิตที่สะอาดโดยเฉพาะ

  28. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) การทำวิจัยครั้งต่อไป • ผู้ที่สนใจควรศึกษากลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในอุตสาหกรรมแบบเดียวกันหรือขนาดเดียวกัน แล้วเปรียบเทียบปัจจัยและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อบริษัทในประเทศไทย

  29. บทวิเคราะห์งานวิจัย • งานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษกับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • เทคนิคในการเก็บข้อมูล 2 วิธี คือ การส่งแบบสอบถามไปยังโรงงานที่เข้าร่วมโครงการ 20/20+ และการสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้บริหารโรงงาน • ทฤษฎีการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ใช้ในงานวิจัย มี 2 ทฤษฎี ได้แก่ 1. ปัจจัยในการถ่ายทอดเทคโนโลยีระดับระหว่างประเทศของ United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific หรือ ESCAP 2. ปัจจัยการถ่ายทอดเทคโนโลยีระดับประเทศ ของสำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มีปัจจัยด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และประชากร

  30. บทวิเคราะห์งานวิจัย (ต่อ) • งานวิจัยนี้มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการเทคโนโลยีในด้าน การถ่ายทอดเทคโนโลยี • ควรกำหนดกลุ่มตัวอย่างออกเป็นประเภทอุตสาหกรรม และควรหาปัจจัยที่มีความสำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันมลพิษในเชิงลึก • ควรเลือกศึกษาเพิ่มเติมในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ให้การถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

  31. จบการนำเสนอ ขอขอบคุณค่ะ

More Related