1 / 13

วิสัยทัศน์

การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมทางหลวงชนบท. พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน. วิสัยทัศน์. พันธกิจ. พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน

kellsie
Download Presentation

วิสัยทัศน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมทางหลวงชนบท พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืนเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการและยั่งยืน แก้ไขปัญหาจราจรโดยสร้างทางต่อเชื่อม (Missing Link) ทางเลี่ยง (Bypass) และทางลัด (Shortcut)รวมทั้งเป็นพี่เลี้ยง(Mentor) การพัฒนาทางหลวงท้องถิ่นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนพัฒนาองค์กรตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยบุคคล ค่านิยมหลัก ใส่ใจความต้องการของประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มุ่งสัมฤทธิ์ด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ความต้องการ การตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเข้มแข็งของ อปท. ในการพัฒนาและบำรุง รักษาทางหลวงท้องถิ่น 1.ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านงานทางยังมีความจำเป็น ต้องได้รับการพัฒนาเพิ่ม และยกระดับคุณภาพชีวิต การบำรุงรักษาระบบโครง ข่ายทางอย่างยั่งยืน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานงานทางและ บริการด้านคมนาคมอย่างมีบูรณาการ ยุทธศาสตร์ กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการพัฒนาโครงข่ายทาง กระบวนการบำรุงทาง กระบวนการสร้างความ เข้มแข็งใน อปท.

  2. กระบวนการสร้างคุณค่าของกรมทางหลวงชนบทกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมทางหลวงชนบท

  3. การกำหนดกระบวนการสนับสนุนของกรมทางหลวงชนบท พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืนเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการและยั่งยืน แก้ไขปัญหาจราจรโดยสร้างทางต่อเชื่อม (Missing Link) ทางเลี่ยง (Bypass) และทางลัด (Shortcut)รวมทั้งเป็นพี่เลี้ยง(Mentor) การพัฒนาทางหลวงท้องถิ่นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนพัฒนาองค์กรตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยบุคคล ค่านิยมหลัก ใส่ใจความต้องการของประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มุ่งสัมฤทธิ์ด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ความต้องการ การตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเข้มแข็งของ อปท. ในการพัฒนาและบำรุง รักษาทางหลวงท้องถิ่น 1.ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านงานทางยังมีความจำเป็น ต้องได้รับการพัฒนาเพิ่ม และยกระดับคุณภาพชีวิต การบำรุงรักษาระบบโครง ข่ายทางอย่างยั่งยืน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานงานทางและ บริการด้านคมนาคมอย่างมีบูรณาการ ยุทธศาสตร์ กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการพัฒนาโครงข่ายทาง กระบวนการบำรุงทาง กระบวนการสร้างความ เข้มแข็งใน อปท. กระบวนการที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการสนับสนุน

  4. กระบวนการสนับสนุนของกรมทางหลวงชนบทกระบวนการสนับสนุนของกรมทางหลวงชนบท

  5. กระบวนการสนับสนุนของกรมทางหลวงชนบท (ต่อ)

  6. การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่าการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ปัจจัยที่สำคัญ • ข้อจำกัดและปัญหาในอดีต • การเติบโตและโอกาสในอนาคต • ผลกระทบต่อสังคม/สิ่งแวดล้อม • มาตรฐานการควบคุมงาน • ข้อกำหนดที่สำคัญ • ความต้องการของผู้รับบริการ • ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ข้อกำหนดด้านกฎหมาย • การบริหารความเสี่ยง • ความคุ้มค่าและลดต้นทุน การออกแบบ กระบวนการ ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ กระบวนการพัฒนาโครงข่ายทาง กระบวนการบำรุงทาง กระบวนการสร้างความ เข้มแข็งใน อปท. กระบวนการ สร้างคุณค่า 1.ร้อยละความสำเร็จของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน 2.จำนวนกระบวนงานที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการดำเนินงานดีขึ้น การกำหนดตัวชี้วัด ของกระบวนการ การติดตามตัวชี้วัด ของกระบวนการ กำหนดให้คณะทำงาน PMQA กรม กำกับ ติดตามตัวชี้วัดของกระบวนการ

  7. ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมทางหลวงชนบทข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมทางหลวงชนบท

  8. การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่าการออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า • ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ • องค์ความรู้และเทคโนโลยี • ที่เปลี่ยนแปลง • ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติ • ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพ • และประสิทธิผล • ปัจจัยที่สำคัญ • ข้อจำกัดและปัญหาในอดีต • การเติบโตและโอกาสในอนาคต • ผลกระทบต่อสังคม/สิ่งแวดล้อม • มาตรฐานการควบคุมงาน • ข้อกำหนดที่สำคัญ • ความต้องการของผู้รับบริการ • ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ข้อกำหนดด้านกฎหมาย • การบริหารความเสี่ยง • ความคุ้มค่าและลดต้นทุน การออกแบบ กระบวนการ กระบวนการพัฒนาโครงข่ายทาง กระบวนการบำรุงทาง กระบวนการสร้างความ เข้มแข็งใน อปท. กระบวนการ สร้างคุณค่า 1.ร้อยละความสำเร็จของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน 2.จำนวนกระบวนงานที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการดำเนินงานดีขึ้น การกำหนดตัวชี้วัด ของกระบวนการ การติดตามตัวชี้วัด ของกระบวนการ กำหนดให้คณะทำงาน PMQA กรม กำกับ ติดตามตัวชี้วัดของกระบวนการ

  9. การกำหนดแผนรองรับภาวะฉุกเฉินของกรมทางหลวงชนบทการกำหนดแผนรองรับภาวะฉุกเฉินของกรมทางหลวงชนบท

  10. การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสร้างคุณค่าการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสร้างคุณค่า

  11. การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุนการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน

  12. การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุนการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน

  13. ระบบการปรับปรุงกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนระบบการปรับปรุงกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน การปรับปรุงกระบวนการ • บูรณาการในทุกระดับชั้น • ปรับปรุงในระดับกิจกรรม • ปรับปรุงในระดับการปฏิบัติงาน • ปรับปรุงในระดับกระบวนการ • ปรับปรุงในระดับกระบวนงาน คู่มือปฏิบัติงาน ( Work Manual) 1. วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือ 2. ขอบเขต 3. คำจำกัดความ 4. หน้าที่ความรับผิดชอบ 5. Work Flow กระบวนการ 6. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. มาตรฐานงาน 8. ระบบติดตามประเมินผล 9. เอกสารอ้างอิง 10. แบบฟอร์มที่ใช้ • ข้อกำหนดที่สำคัญ • ความต้องการของผู้รับบริการ • ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ข้อกำหนดด้านกฎหมาย • การบริหารความเสี่ยง • ความคุ้มค่าและลดต้นทุน กระบวนการเดิม 1. ไม่ได้จัดทำเป็นคู่มือ ( Work Manual) ครบทุกระบวนการ 2. ในบางกระบวนการควรมีการปรับปรุง ให้ดียิ่งขึ้นอีก ขั้นตอน • ระบุ/ค้นหาจุดอ่อนในกระบวนการ/ โอกาสในการปรับปรุง • กำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ • ในการปรับปรุงงานให้ชัดเจน • จัดทีมงานปรับปรุง • จัดทำแผนงาน/โครงการรองรับ • ดำเนินการและติดตามประเมินผล • ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ • องค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง • ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติ • ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ จำนวน 3 กระบวนการสร้างคุณค่า ที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลงานดีขึ้น Feedback

More Related