1 / 24

นาย ศรา วุฒิ นิลสุก รหัสนักศึกษา 55631852

นาย ศรา วุฒิ นิลสุก รหัสนักศึกษา 55631852. Wimax คือ.

kemal
Download Presentation

นาย ศรา วุฒิ นิลสุก รหัสนักศึกษา 55631852

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายศราวุฒิ นิลสุก รหัสนักศึกษา 55631852

  2. Wimaxคือ WiMAX  “Worldwide Interoperability for Microwave Access” เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสุดที่คาดหมายกันว่าจะถูกนำมาใช้งานที่ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในอนาคตอันใกล้นี้ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ตัวนี้ ได้รับการพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐานที่เรียกเป็นทางการว่า IEEE 802.16

  3. ซึ่งต่อมาก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a (เหมือนกับมาตราฐานสากลตัวแรก แต่มี a ต่อท้าย) ขึ้น โดยได้อนุมัติโดย IEEE มาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยเจ้าระบบ WiMAXนี้มีซึ่งมีรัศมีทำการไกลสูงสุดที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร (คนล่ะโลกกับ WiFiที่เรารู้จักกันเลยทีเดียว)

  4. ซึ่งนั่นหมายความว่า WiMAXสามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิ่งกว่านั้นก็ยังมีอัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่าทีเดียว และแน่นอนว่าเร็วกว่าระบบ WiFiด้วย

  5. ระบบเครือข่าย Wimax โครงสร้างของเครือข่าย WiMAXประกอบด้วย 1. สถานีฐาน (Base Station : BSS)ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดใน Cell Site และเชื่อมต่อกับ Wired Internet Backbone 2. สถานีลูกข่าย ( Subscriber Station : SS)ทำหน้าที่ติดต่อกับสถานีส่ง โดยผ่านอุปกรณ์ลูกข่ายที่เรียกว่า CPE (Customer Premises Equipment) เป็นเสมือนเป็น Hub ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับและส่งข้อมูลกำลังสูงเพื่อให้ติดต่อระยะไกลได้

  6. ศักยภาพในการให้บริการของ WiMAXศักยภาพในการให้บริการของ WiMAX ศักยภาพในการให้บริการสื่อสารข้อมูล ของ WiMAXหมายถึงขอบเขตการให้บริการในพื้นที่การให้บริการและอัตราความเร็วในส่งข้อมูล ทั้งนี้ในปัจจุบันสถานี WiMAXแต่ละแห่งสามารถให้บริการแบบ NLOS ได้ในรัศมีทำการตั้งแต่ 4 – 9 กิโลเมตร รองรับการสื่อสารด้วยอัตราเร็วสูงสุดในช่วง 8 – 11.3 เมกะบิตต่อวินาที ทั้งในช่วงการส่งสัญญาณจากเครื่องลูกข่ายไปยังสถานีฐาน และจากสถานีฐานไปสู่เครื่องลูกข่าย

  7. ศักยภาพ WiMAX สำหรับการใช้ WiMAXในงานสื่อสารระยะทางไกลในรูปแบบการส่งสัญญาณแบบ LOS จะสามารถส่งสัญญาณได้ในระยะทางถึง 30 – 50 กิโลเมตร ทั้งนี้ได้มีการกำหนดย่านความถี่สำหรับการใช้งานในเขตพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ดังนี้ - ทวีปอเมริกาเหนือ กำหนดให้ใช้ย่าน 2.5 และ 5.8 เมกะเฮิรตซ์ - ทวีปอเมริกาใต้ กำหนดให้ใช้ย่าน 2.5 3.5 และ 5.8 เมกะเฮิรตซ์ - ทวีปยุโรป และเอเชีย กำหนดให้ใช้ย่าน 3.5 และ 5.8 เมกะเฮิรตซ์

  8. การส่งสัญญาณ แบบ LOS

  9. การส่งสัญญาณ แบบ NLOS

  10. ความสามารถ WiMAX คราวนี้เราจะมาดูการทำงานและความสามารถของ WiMAXมีความสามารถในการส่งกระจายสัญญาณจากจุดเดียวไปยังหลายจุด (Point-to-Multipoint) และสามารถทำงานในแบบ (Non-Line-of-Sight) คือ สามารถทำงานได้แม้มีสิ่งกีดขวางก็ตาม เช่น อาคาร ต้นไม้ ได้เป็นอย่างดี

  11. ความสามารถ WiMAX WiMAXสามารถทำการเชื่อมต่อแบบไร้สายได้ด้วยความรวดเร็วและต่อเนื่อง และรองรับการส่งข้อมูลขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลภาพ เสียง วีดีโอสตรีมมิ่ง ไปยังอุปกรณ์เคลื่อนที่ และยังช่วยให้ผู้ใช้งานที่ต้องการใช้งาน Application อยู่ที่บ้าน หรือที่ทำงาน และแม้กระทั่งระหว่างการเดินทาง ให้สามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่องและราบรื่น

  12. ประโยชน์ WiMAX 1. ความสามารถในการขยายระบบเรื่องการรองรับการใช้งานแบนด์วิดท์, ช่องสัญญาณ สำหรับการสื่อสารได้ด้วยความยืดหยุ่น โดยสามารถปรับให้สอด คล้องกับแผน–การติดตั้งเซลล์ในย่านความถี่ที่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์ หรือ ย่านความถี่ที่ได้รับการยกเว้นค่าลิขสิทธิ์ทั่วโลก

  13. ประโยชน์ WiMAX 2.  ระบบรักษาความปลอดภัยนับเป็นคุณสมบัติ ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยคุณสมบัติของการรักษาความลับของ ข้อมูลและการเข้ารหัสข้อมูล ซึ่ง อยู่ในมาตรฐานWiMAXที่จะช่วยให้การสื่อสารมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น แถมยังมีระบบตรวจสอบสิทธิการใช้งานและมีระบบการเข้ารหัสข้อมูลในตัวด้วย

  14. ประโยชน์ WiMAX 3. การประยุกต์การใช้งานทำให้เราสามารถนำ WiMAX ไปประยุกต์เพื่อลดช่องว่างของ เทคโนโลยีในพื้นที่ห่างไกลที่เทคโนโลยีเข้าไปไม่ถึง ตลอดจนสนอง ความต้องการการใช้งานบรอดแบนด์ในเมืองที่มีพื้นที่แออัดได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายที่ประหยัดกว่าการติดตั้งเครือข่ายในแบบวางสายสัญญาณที่ ใช้งานกันอยู่

  15. ข้อดีของ WiMAX 1. ความเร็ว  ได้ให้อัตราความเร็วในการส่งสัญญาณข้อมูลมากถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) โดยใช้กลไกการเปลี่ยนคลื่น สัญญาณที่ให้ ประสิทธิภาพสูง สามารถส่งสัญญาณออกไปได้ในระยะทางไกลมากถึง 30 ไมล์ หรือ 48 กิโลเมตร ภายใต้คลื่นความถี่ระดับสูงที่มีประสิทธิภาพใน การ ทำงานสูง 2. การบริการที่ครอบคลุม  ใช้เทคนิคของการแปลงสัญญาณที่ให้ความคล่องตัวในการใช้งานสูง และเปี่ยมประสิทธิภาพแล้ว มาตรฐาน IEEE 802.16a ก็ยังสามารถรองรับการทำงานร่วมกับเทคโนโลยีซึ่งขยายพื้นที่การให้บริการให้กว้างขวางมากขึ้นได้

  16. ข้อดีของ WiMAX 3 ความสามารถในการขยายระบบ   มีความสามารถในเรื่องการรองรับการใช้งานแบนด์วิดท์, ช่องสัญญาณ สำหรับการสื่อสารได้ด้วยความยืดหยุ่น โดยสามารถปรับให้สอด คล้องกับแผน–การติดตั้งเซลล์ในย่านความถี่ที่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์ 4 การจัดลำดับความสำคัญของงานบริการ(QoS - Quality of Service)  สำหรับระบบเครือข่ายไร้สายมาตรฐาน WiMAXนี้ มีคุณสมบัติด้าน QoS (Quality of Service) ที่รองรับการทำงานของ บริการสัญญาณเสียงและ สัญญาณวิดีโอ ซึ่งต้องการระบบเครือข่ายที่สามารถทำงานได้

  17. ข้อดีของ WiMAX 5. ระบบรักษาความปลอดภัย  เป็นคุณสมบัติ ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยคุณสมบัติของการรักษาความลับของข้อมูลและการเข้ารหัสข้อมูล ซึ่ง อยู่ในมาตรฐาน WiMAXที่จะช่วยให้การสื่อสารมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น แถมยังมีระบบตรวจสอบสิทธิการใช้งานและมีระบบการเข้ารหัสข้อมูลในตัวด้วย 

  18. ข้อเสียของ WiMAX เนื่องจากเพิ่งมี การคิดค้นและเริ่มมาพัฒนาอย่างจริงจังไม่กี่ปี ดังนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของมาตรฐานรวมไปถึงผู้ผลิตที่นำเอามาตรฐาน WiMAXไปพัฒนาต่อเป็นอุปกรณ์สำหรับใช้งานจริงก็มีจำนวนน้อย อุปกรณ์ก็ยังไม่หลากหลาย ต้องอาศัยเวลาสักพักก่อนได้รับความนิยม 

  19. ข้อเสียของ WiMAX รวมไปถึงราคาอุปกรณ์ WiMAXที่ค่อนค้างสูงขณะนี้ ความถี่ของการให้บริการ ตามมาตรฐานของ WiMAXจะใช้ความถี่ช่วง 2-6GHz (802.16e) และ 11GHz (802.16d) ซึ่งในบางประเทศจะเป็นช่วงความถี่ที่มีการควบคุม ต้องมีการขออนุญาตก่อนให้บริการ และในบางประเทศ ไม่มีข้อกำหนดตรงนี้ ดังนั้นผู้ที่จะลงทุนวางระบบ WiMAXต้องศึกษาข้อมูลให้ละเอียดเสียก่อน

  20. ตัวอย่างการทดสอบ WiMAXในประทศไทย 1. บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) เริ่มทำการทดสอบให้บริการไวแมกซ์ โดยติดตั้งเสาสัญญาณในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 3 แห่ง คือ ตำบลข่วงสิงห์, ต้นพะยอม และช้างคลาน ใช้คลื่นความถี่ 2.3 และ 2.5 กิกะเฮรตซ์ ใช้อุปกรณ์ของบริษัทแซดอีที, โมโตโรล่า และบริษัท อินเทล

  21. ตัวอย่างการทดสอบ WiMAXในประทศไทย 2. บริษัท โทเทิ่ลแอ็คเซ็สคอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)ได้ทดสอบการใช้งานเทคโนโลยีไวแมกซ์ ที่ย่านความถี่ 2.5 กิกะเฮิรตซ์ ภายในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยสารคาม จังหวัดมหาสารคาม โดยใช้เทคโนโลยีของบริษัท อินเทลคอร์ป ผู้ผลิตชิพรายใหญ่ของโลก ผลการทดสอบสอดคล้องกับตามมาตรฐานเทคโนโลยี ไวแมกซ์ โดยอัตราความเร็วในการดาวน์โหลดข้อมูลสูงสุด (Downlink) 10 เมกะบิตต่อวินาที และความเร็วในการอัพโหลดข้อมูล (Uplink) อยู่ที่ 4 เมกะบิตต่อวินาที

  22. จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ

More Related