1 / 53

การจบชั้นเรียน การประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อ สาขาวิชาการอาชีพ ในโลกยุคปัจจุบัน

การจบชั้นเรียน การประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อ สาขาวิชาการอาชีพ ในโลกยุคปัจจุบัน. โดย ดร . จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี. กรอบการบรรยาย. 1. 2. 3. การจบชั้นเรียน. การประกอบอาชีพ. การศึกษาต่อ. 4. 5. 6. กรอบการบรรยาย.

Download Presentation

การจบชั้นเรียน การประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อ สาขาวิชาการอาชีพ ในโลกยุคปัจจุบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจบชั้นเรียน การประกอบอาชีพและการศึกษาต่อสาขาวิชาการอาชีพ ในโลกยุคปัจจุบัน โดย ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี

  2. กรอบการบรรยาย 1 2 3 การจบชั้นเรียน การประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ

  3. 4 5 6 กรอบการบรรยาย การจัดอาชีวศึกษาของประเทศไทย และข้อเท็จจริงที่มีผลกระทบต่อการเรียนในสายอาชีพ นโยบายของรัฐบาลและกรอบการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ความร่วมมือจากองค์กรหลักและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการเพิ่มปริมาณผู้เรียนในสายอาชีวศึกษา และ การดำเนินงานของ สอศ.

  4. 1 การจบชั้นเรียน

  5. 5 วัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลง

  6. ทักษะชีวิต

  7. 2 การประกอบอาชีพ

  8. สถานการณ์การว่างงาน (ผลสำรวจสำนักงานสถิติแห่งชาติ)

  9. จำนวนและอัตราการว่างงานรายเดือนจำนวนและอัตราการว่างงานรายเดือน

  10. อัตราการว่างงานประมาณการของกรมจัดหางานอัตราการว่างงานประมาณการของกรมจัดหางาน

  11. สถานการณ์ด้านความต้องการกำลังคนสถานการณ์ด้านความต้องการกำลังคน

  12. ความต้องการกำลังคนจำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม เกษตร และบริการ ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2557 ความต้องการ (ล้านคน) ปี พ.ศ. 2553 2554 2555 2556 2557 www.themegallery.com

  13. ภาพรวมต้องการกำลังคนเพิ่มขึ้นระหว่างปี 2553-2557 ถึง 2.7 ล้านคน หรือเฉลี่ยปีละ 675,000 คน ในขณะที่ผู้เรียนสายอาชีพยังไม่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มลดลง อีกทั้งเมื่อเรียนอาชีวศึกษาแล้วยังเรียนต่อ ไม่เข้าสู่งาน ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ปี 2554 จำนวน 1 แสนคน ปี 2555 จำนวน 1 แสนคน ปี 2556 จำนวน 1 แสนคน ปี 2557 จำนวน 1 แสนคน หรือในระหว่างปี 2553- 2557 เพิ่มขึ้นจำนวน 4 แสนคน ความต้องการแรงงานในภาคเกษตรเพิ่มขึ้น ปี 2554 จำนวน 2 แสนคน ปี 2555 จำนวน 1 แสนคน ปี 2556 จำนวน 2 แสนคน ปี 2557 จำนวน 1 แสนคน หรือระหว่างปี 2553- 2557 เพิ่มขึ้นจำนวน 6 แสนคน ความต้องการแรงงานในภาคบริการเพิ่มขึ้น ปี 2554 จำนวน 4 แสนคน ปี 2555 จำนวน 5 แสนคน ปี 2556 จำนวน 4 แสนคน ปี 2557 จำนวน 4 แสนคน หรือในระหว่างปี 2553- 2557 เพิ่มขึ้นจำนวน 1.7 ล้านคน www.themegallery.com

  14. ประมาณการความต้องการแรงงานภาพรวมประมาณการความต้องการแรงงานภาพรวม จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ร้อยละ กลุ่มอุตสาหกรรม ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  15. ประมาณการความต้องการแรงงานประมาณการความต้องการแรงงาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ร้อยละ กลุ่มอุตสาหกรรม ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  16. 3 การศึกษาต่อ

  17. การคาดคะเนความต้องการกำลังคนจำแนกตามระดับการศึกษาการคาดคะเนความต้องการกำลังคนจำแนกตามระดับการศึกษา ระหว่างปี 2553-2562 ที่มา : การศึกษาความต้องการกำลังคนเพื่อวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ

  18. การเปรียบเทียบการจ้างงานโดยรวมในภาคอุตสาหกรรม เกษตร และบริการ เฉพาะในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ระหว่างปี 2553-2562 ซึ่งอาชีวศึกษาเป็นที่ต้องการถึง 1 เท่า หรือร้อยละ 100 www.themegallery.com

  19. ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรม (2554-2558) • ในอีก 5 ปี ต้องการเพิ่ม 248,862 คน • ระดับ ม.3 และ ม.6 จำนวน 131,628คน = 52.89 % • ระดับ ปวช. จำนวน 37,829 คน = 15.20 % • ระดับ ปวส. จำนวน 51,813 คน = 20.82 % • ระดับ ปริญญาตรี จำนวน 27,591 คน =11.09 %

  20. ในระดับ ปวช. และ ปวส. สาขาที่ต้องการมากที่สุด คือ • ในระดับ ปวช. และ ปวส. สาขาที่ต้องการมากที่สุด คือ • สาขาช่างกลโรงงาน จำนวน 49,813 คน = 55.57 % • สาขาไฟฟ้า และ อีเล็กทรอนิกส์ จำนวน 17,885 คน =19.95 % • สาขาช่างยนต์ จำนวน 10,356 คน = 11.55 % • ปริญญาตรี สาขาที่ต้องการ คือวิศวกรรมศาสตร์ • 80% ต้องการวิศวอุตสาหการ, เครื่องกลไฟฟ้า, อิเลคทรอนิกส์ยานยนต์ และแมคคาทรอนิกส์ • 20% เป็นบัญชี การเงิน กฎหมาย และงานธุรการ

  21. 4 การจัดอาชีวศึกษาของประเทศไทย และข้อเท็จจริงที่มีผลกระทบต่อการเรียนในสายอาชีพ

  22. ปัญหาในด้านทัศนคติในการเรียนสายอาชีพปัญหาในด้านทัศนคติในการเรียนสายอาชีพ • ทั้งๆ ที่มีความเด่นชัดในด้านความต้องการกำลังคนในระดับอาชีวศึกษาสูงกว่าอุดมศึกษา ปัจจุบันแนวโน้มผู้จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมากขึ้นเนื่องจากสาเหตุต่างๆ ได้แก่ • ค่านิยมของผู้ปกครอง ต้องการให้บุตรหลาน • เรียนจบปริญญาเพื่อให้ทำงานในสายงานอื่น รวมทั้งผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ทราบความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพของผู้เรียนอาชีวศึกษาเท่าที่ควร www.themegallery.com

  23. 2. การรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สถานศึกษา ที่เปิดสอนในสายสามัญศึกษาปัจจุบันมีการเพิ่ม เป้าหมายการรับนักเรียนที่จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้าเรียนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายมากขึ้น ส่งผล กระทบให้มีผู้สมัครเรียนอาชีวศึกษาลดลง นอกจากนี้แล้วเงินอุดหนุนในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานเป็นส่วนสำคัญที่ทุกสถานศึกษาเร่งเพิ่ม ปริมาณผู้เรียนเพื่อให้ได้ค่าใช้จ่ายรายหัวเพิ่มขึ้น www.themegallery.com

  24. 3. ข้อจำกัดในการเรียนต่อในสายอาชีวศึกษาทั้งจาก สถานศึกษาและผู้เรียน ปัจจุบันสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษามุ่งรับนักศึกษาที่จบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าเรียนต่อในระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ปี) แต่สำหรับผู้จบระดับ ปวส. นั้นต้องเข้าสู่ระบบเทียบ โอนทำให้มีระยะเวลาการศึกษาต่อให้จบปริญญาตรี มากกว่า 2 ปี ซึ่งเท่ากับว่าถ้าเรียนในสายอาชีวศึกษา จนจบปริญญาตรีจะใช้เวลามากกว่า 4 ปี เป็นสาเหตุ ให้นักเรียนเลือกเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย www.themegallery.com

  25. ภาพลักษณ์ในการใช้ความรุนแรง การทะเลาะวิวาท • ในนักเรียนอาชีวศึกษาบางกลุ่มซึ่งเป็นส่วนน้อย • ส่งผลต่อทัศนคติและการยอมรับของผู้ปกครอง • และไม่กล้าส่งบุตรหลานมาเข้าเรียนในสายอาชีพ • 5. คุณภาพผู้เรียนอาชีวศึกษาที่บางแห่งยังไม่เป็นที่ • ยอมรับจากสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม • เกษตร และบริการ เนื่องจากความไม่พร้อมในด้าน • เครื่องมืออุปกรณ์ บุคลากร อาคารสถานที่ และ • ข้อจำกัดจากเงินอุดหนุนที่ได้รับ www.themegallery.com

  26. 6. การรับรู้ของผู้เรียนในเส้นทางการเรียนสาย อาชีวศึกษารวมทั้งความก้าวหน้าในเส้นทาง อาชีพยังมีน้อย และยังมีข้อจำกัดของ สถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาในการจัดแนะแนว การศึกษาในโรงเรียนมัธยมซึ่งยังไม่สามารถ ดำเนินการได้เท่าที่ควร www.themegallery.com

  27. ข้อมูลพื้นฐานการจัดอาชีวศึกษาข้อมูลพื้นฐานการจัดอาชีวศึกษา • สถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาในปัจจุบันมีมากกว่า 842 แห่ง • - สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • จำนวน 415 แห่ง ส่วนใหญ่กระจายตัวในภูมิภาค • - สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน • จำนวน 427 แห่ง ส่วนใหญ่กระจายตัวอยู่ในเขตเมือง • 2. ในการจัดอาชีวศึกษามีความหลากหลายหลักสูตรเพื่อผลิต • กำลังคนเข้าสู่อาชีพต่างๆ ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอน • ใน 9 ประเภทวิชา ได้แก่ ประเภทวิชา • อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม บริหารธุรกิจ ศิลปกรรม • คหกรรม เกษตรกรรม ประมง • อุตสาหกรรมท่องเทียว อุตสาหกรรมสิ่งทอ • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • ทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. • รวม 120 สาขาวิชา 317 สาขางาน www.themegallery.com

  28. ประเภทของสถานศึกษาและหลักสูตรอาชีวศึกษาประเภทของสถานศึกษาและหลักสูตรอาชีวศึกษา ประเภทหลักสูตร รวม 3 ประเภท 1. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 3. หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ประเภทวิชา รวม 9 ประเภท www.themegallery.com

  29. จำนวนประเภทวิชา สาขา และสาขางาน วิธีการจัดอาชีวศึกษา การศึกษานอกระบบ การศึกษาในระบบ การศึกษาทวิภาคี การเทียบโอนประสบการณ์ www.themegallery.com

  30. ผลผลิตที่ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2554 และนักศึกษาปัจจุบัน ปวช. 520,000 คน จำนวน นศ. ปัจจุบัน 452,475 คน หลักสูตรระยะสั้น 537,000 คน ต้องเพิ่มเป้าหมาย ปวช. 67,525 คน ต้องเพิ่มเป้าหมาย ปวส. 15,579 คน ปวส. 241,780 คน จำนวน นศ. ปัจจุบัน 226,201 คน

  31. 5 นโยบายของรัฐบาลและกรอบการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561)

  32. นโยบายรัฐบาลปัจจุบัน  ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ • ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน • พัฒนาครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา  ให้โอกาสศึกษาฟรี 15 ปี  ยกระดับมาตรฐานอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา  ปรับปรุงระบบการกู้ยืมเพื่อการศึกษา • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา • เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและเรียนรู้อย่างมี บูรณาการ

  33. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (2552-2561) กรอบแนวทาง การปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ คุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู คุณภาพแหล่งเรียนรู้/สถานศึกษา คุณภาพการบริหารจัดการ • คุณภาพ โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้คนไทย เข้าถึงการเรียนรู้อย่าง มีคุณภาพ เปิดโอกาสให้คนไทยเข้าถึง การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ (ครอบครัว ศาสนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง) การมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนของสังคม

  34. กลไกการขับเคลื่อนในส่วนที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นเจ้าภาพหลักในการปฏิรูปการศึกษากลไกการขับเคลื่อนในส่วนที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นเจ้าภาพหลักในการปฏิรูปการศึกษา • จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ เพื่อ • พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ประเมิน รับรองสมรรถนะวิชาชีพ เชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • 2. กำหนดตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมายด้านสัดส่วน • ผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภท • อาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เมื่อสิ้นสุด • ระยะเวลาการดำเนินงาน ณ ปี พ.ศ. 2561 • เป็น 60 : 40

  35. 6 ความร่วมมือจากองค์กรหลักและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อการเพิ่มปริมาณผู้เรียน ในสายอาชีวศึกษา

  36. นักเรียนโควต้าพิเศษ มอบตัว ภายในวันที่ 20 มีนาคม 2554 รอบที่ 1 รับสมัคร วันที่ 12 – 16 มีนาคม 2554 การทดสอบความรู้และความถนัดทางวิชาชีพ วันที่ 20 มีนาคม 2554 ประกาศผล วันที่ 23 มีนาคม 2554 มอบตัว วันที่ 3 เมษายน 2554 รอบที่ 2 รับสมัคร ประกาศผล และมอบตัว วันที่ 20-30 เมษายน 2554 กำหนดการรับนักเรียน ปวช. (สอศ.)

  37. กำหนดการรับนักเรียน ปวส. (สอศ.) กำหนดวันเวลาการดำเนินการรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ให้สถานศึกษาพิจารณาตามความเหมาะสม

  38. ข้อเสนอเพื่อรับการสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการและองค์กรหลักเกี่ยวข้องข้อเสนอเพื่อรับการสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการและองค์กรหลักเกี่ยวข้อง • ใช้แผนการรับนักเรียนเป็นกลไกในการปรับ • เป้าหมายสัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาและสามัญศึกษา โดยให้มีการประสานแผนการรับนักเรียนในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อให้การรับนักเรียนเป็นไปตามค่าเป้าหมายด้านสัดส่วนผู้เรียนให้สอดคล้องกับแนวทางที่กำหนดในกรอบการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 โดยให้มีการประสานแผนการรับนักเรียนร่วมกันในภาพรวมของกระทรวง และระดับจังหวัด

  39. 2. ขอความร่วมมือสถานศึกษาที่เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาสนับสนุนและให้การแนะแนวการศึกษาทั้งในด้านการเรียนในสายอาชีพและความก้าวหน้าในอาชีพ และการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา 3. ส่งเสริมและให้ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ รวมทั้งการอำนวยความสะดวกในการเข้าแนะแนวการศึกษาในสายอาชีวศึกษา การออกเอกสารรับรองผลการเรียนเพื่อการสมัครสอบเรียนต่อของสถานศึกษาต้นสังกัด

  40. 4. ร่วมสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองเพื่อให้นักเรียนได้เรียนตามความถนัด ความสนใจ และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการเรียนในสายอาชีวศึกษา 5. ทบทวนการรับนักศึกษาต่อเนื่องจากระดับ ปวส. เข้าเรียนต่อในระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปี จนกว่าการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาจะแล้วเสร็จ

  41. ข้อเสนอในส่วนที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาข้อเสนอในส่วนที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • จะดำเนินการ • 1. ปรับรูปแบบการแนะแนวการศึกษาเชิงรุกเพื่อสร้างความเข้าใจ • กับผู้ปกครองและนักเรียนให้เห็นความสำคัญของการเรียน • อาชีวศึกษาและความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ รวมทั้งเพิ่ม • การแนะแนวให้ครอบคลุมและทั่วถึงกลุ่มเป้าหมาย • 2. ปรับขั้นตอน กระบวนการรับนักศึกษา และการจัดการเรียน • การสอนหลากหลายวิธีการจัดให้มีความยืดหยุ่นแก่ผู้เรียนให้ • มากขึ้น • 3. เพิ่มเป้าหมายการรับนักเรียนในกลุ่มอื่นนอกเหนือจากผู้สำเร็จ • มัธยมศึกษาปีที่ 3

  42. 4. เพิ่มค่าตอบแทนโดยพิจารณาตามความสามารถและ ทักษะของผู้เรียน โดยเร่งรัดการดำเนินการด้านคุณวุฒิ วิชาชีพเพื่อเป็นกลไกในด้านมาตรฐานสมรรถนะ และ ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม 5. เร่งพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการพัฒนา ความพร้อมของสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้เป็นที่ยอมรับ จากสถานประกอบการ ผู้ปกครอง และนักเรียน 6. ขอรับการสนับสนุนค่าวัสดุฝึกให้เพียงพอตามความ เหมาะสมของแต่ละสาขาวิชา 7. เร่งหามาตรการเพื่อจูงใจให้ผู้จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 สนใจ เรียนอาชีวศึกษามากขึ้น

More Related