1 / 24

การใช้แตนเบียนควบคุมศัตรูพืชในไร่อ้อยและนาข้าว โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์

การใช้แตนเบียนควบคุมศัตรูพืชในไร่อ้อยและนาข้าว โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์.

kevyn-lucas
Download Presentation

การใช้แตนเบียนควบคุมศัตรูพืชในไร่อ้อยและนาข้าว โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้แตนเบียนควบคุมศัตรูพืชในไร่อ้อยและนาข้าว โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์

  2. หลักการและเหตุผล-ปี 2542 - 2544 หนอนกออ้อยระบาดขยาย พื้นที่ประมาณ 540,000 ไร่ - ผลผลิตอ้อยลดลง 40 - 97 เปอร์เซ็นต์ - การแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมไม่ควรทำลาย สภาพแวดล้อม - การใช้ศัตรูธรรมชาติ นำไปใช้แก้ปัญหา แมลงศัตรูอ้อยอย่างถูกต้องและเหมาะสม

  3. วัตถุประสงค์ ผลิตไข่แตนเบียน Trichogramma.เพื่อควบคุมหนอนกออ้อยในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด และสกลนคร

  4. การผลิตแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา มี 2 ขั้นตอน 1. การเลี้ยงขยายผีเสื้อข้าวสาร

  5. 1.1 คั่วรำเพื่อฆ่าแมลงต่าง ๆ

  6. 1.2 นำรำมาใส่กล่องพลาสติก

  7. 1.3 โรยไข่ผีเสื้อข้าวสาร 0.01 กรัม/รำ 1 กิโลกรัม

  8. 1.4 ปิดฝาครอบนำไปเก็บไว้บนชั้นเลี้ยงแมลง

  9. 1.5 ประมาณ 40 - 45 วัน ผีเสื้อข้าวสารจะโตเต็มวัย ในช่วงเช้า ใช้เครื่องดูดตัวเต็มวัยเก็บใส่ในกล่อง เครื่องดูด

  10. 1.6 นำตัวผีเสื้อข้าวสารใส่ถุงตาข่ายไนล่อน มีสำลีชุบน้ำผึ้ง เจือจางไว้เป็นอาหารแล้ววางไว้บนชั้นมีถาดรองรับไข่ สำลีชุบน้ำผึ้งเจือจาง น้ำผึ้งเจือจาง

  11. 1.7 เมื่อครบ 24 ชั่วโมง นำไข่มาเคาะลงในถาด ไข่ผีเสื้อข้าวสาร

  12. 1.8 ทำความสะอาดไข่โดยใช้ตะแกรงร่อน

  13. 1.9 นำไข่ที่ได้มาชั่งน้ำหนักเพื่อทราบปริมาณไข่ที่ผลิตได้

  14. 1.10 ไข่ 20 % แบ่งไว้ขยายผีเสื้อข้าวสาร - 80 % ขยายแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ไข่ 80 % ไข่ 20 %

  15. 2. วิธีการเลี้ยงขยายแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา

  16. 2.1 วัดกระดาษสำหรับติดไข่ 2.5x2.5 ซม. คิดเป็นพื้นที่ 6.25 ตารางเซนติเมตร

  17. 2.2 ทากาวในพื้นที่ 6.25 ตารางเซนติเมตร แล้วโรยไข่ผีเสื้อข้าวสาร

  18. 2.3 นำกระดาษที่โรยไข่ผีเสื้อข้าวสารแล้วไปผ่านแสง ยูวี ขนาด 30 วัตต์ นาน 15 นาที

  19. 2.4นำแผ่นไข่ที่ผ่านแสงยูวีมาใส่ลงบนแผ่น พ่อ แม่พันธุ์ แตนเบียนแล้วให้กระดาษปิดกล่องไม้

  20. 2.5 นำไปวางไว้บนชั้นที่เตรียมไว้ เมื่อครบ 7 วัน จะเข้าสู่ระยะดักแด้ ระยะดักแด้

  21. 2.6 ทำการคัดเลือกแผ่นดี - แผ่นเสีย- แผ่นดี เตรียมไว้แจกเกษตรกร- แผ่นเสียเก็บไว้เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อไป

  22. วิธีปล่อยแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา - ปล่อยหลังเวลา 16.00 น. - อยู่เหนือทิศทางลม - ปล่อย 6 จุด/1ไร่ - 20,000-30,000 ตัว/ไร่ แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ทาจารบีเพื่อป้องกันมด

  23. ปี 2548 ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์ ได้ผลิตและจ่ายให้เกษตรกร 128,440,000 ตัว หรือพื้นที่ 6,422 ไร่ สรุป

  24. สวัสดี

More Related