1 / 2

แรงสู่ศูนย์กลาง “ เป็นแรงที่เกิดจากวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลม ”

แรงสู่ศูนย์กลาง “ เป็นแรงที่เกิดจากวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลม ” 4.1 การเคลื่อนที่จากการแกว่งวัตถุ 4.2 การเคลื่อนที่ของดาวเทียมรอบโลก 4.3 การเคลื่อนที่ของรถขณะเข้าโค้ง 4.4 รถไฟตีลังกา 4.5 การเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้า. การแกว่งวัตถุในแนวราบทำให้เกิดแรงสู่ศูนย์กลาง

khuong
Download Presentation

แรงสู่ศูนย์กลาง “ เป็นแรงที่เกิดจากวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลม ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แรงสู่ศูนย์กลาง “เป็นแรงที่เกิดจากวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบวงกลม” 4.1 การเคลื่อนที่จากการแกว่งวัตถุ 4.2 การเคลื่อนที่ของดาวเทียมรอบโลก 4.3 การเคลื่อนที่ของรถขณะเข้าโค้ง 4.4 รถไฟตีลังกา 4.5 การเคลื่อนที่ของประจุในสนามไฟฟ้า การแกว่งวัตถุในแนวราบทำให้เกิดแรงสู่ศูนย์กลาง Fc = mv2 r การแกว่งวัตถุในแนวดิ่งทำให้เกิดแรงสู่ศูนย์กลาง T sinq= mv2 r ขณะรถเลี้ยวโค้ง บนถนนโค้งราบ ซึ่งมีแนวทางการเคลื่อนที่ เป็นส่วนโค้งของวงกลมดังรูป ดังนั้นต้องมีแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อวัตถุ เมื่อพิจารณาแรงกระทำต่อรถในแนวระดับพบว่าขณะรถเลี้ยว พยายาม ไถลออกจากโค้ง จึงมีแรงเสียดทาน ที่พื้นกระทำต่อล้อรถในทิศทาง พุ่งเข้าในแนวผ่านศูนย์กลางความโค้งดังนั้น แรงเสียดทาน = แรงสู่ศูนย์กลาง การเคลื่อนที่บนทางโค้งของรถจักรยานยนต์ R จะได้ความสัมพันธ์ว่า mN = mv2 r การหามุมเอียงของรถจักรยานยนต์ขณะเลี้ยว ขณะเลี้ยวรถแรงกระทำต่อรถมี mg, N และ f ซึ่งแรง N และ f รวมกันได้ เป็นแรงลัพธ์ R C.M. จะก่อให้เกิดโมเมนต์ ทำให้รถคว่ำ ขณะเลี้ยวดังรูป ถ้าไม่ต้องการให้รถคว่ำต้องเอียงรถ ให้จุดศูนย์กลางของ มวลผ่านแนวแรง R ขณะเลี้ยว รถจึงเลี้ยวได้โดยปลอดภัยไม่พลิกคว่ำดังรูป แกนที่พิจารณา 1. ในแนวแกน yR cosq =mg ------สมการที่ 1 2. ในแนวแกน xR sinq = Fc ------สมการที่ 2 นำสมการ2 หารสมการ1 ได้ว่า R sin q = mv2 R cos q r mg tanq = v2 rg จะได้สมการว่า *การจะเอียงรถเป็นมุมเท่าไรขึ้นอยู่กับ* 1. รัศมีความโค้ง r 2. ความเร็วขณะเข้าโค้ง v

  2. การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ หรือดาวเทียมทำให้เกิดแรงสู่ศูนย์กลางของวงกลม การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณ ของสนามแม่เหล็ก จะมีแรงแม่เหล็กกระทำต่อ อนุภาคไฟฟ้านั้นตลอดเวลาทุก ๆ ตำแหน่งที่ อนุภาคนั้นเคลื่อนที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก ถ้าสนามแม่เหล็ก มีขนาด สม่ำเสมอแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคจะมีค่าคงที่ด้วย แรงแม่เหล็กที่ กระทำต่ออนุภาคไฟฟ้าขึ้นอยู่กับจำนวนประจุไฟฟ้าและความเร็วอนุภาค และความเข้มของสนามแม่เหล็ก ซึ่งเขียนในรูปทางคณิตศาสตร์ของ ผลคูณเวกเตอร์ของเวกเตอร์สองจำนวนได้ดังนี้ F = qvB เนื่องจากแรง F ที่เกิดขึ้นนี้กระทำในทิศตั้งฉากกับ ความเร็ว v ตลอดเวลา ดังนั้นถ้าอนุภาคยังคงเคลื่อน ที่อยู่ในสนามแม่เหล็กตลอดเวลา ผลก็คือ อนุภาคจะ เคลื่อนที่เป็นวงกลม เมื่ออาศัยหลักการเคลื่อนที่ของ วงกลมจะสรุปได้ดังนี้ สนามแม่เหล็ก แรง เนื่องจาก Fc = FB ดังนั้น mv2 = qvB r เพราะฉะนั้น r = mv qB ประจุไฟฟ้า ความเร็ว ของประจุไฟฟ้า รัศมีการเคลื่อนที่ของประจุ r ขึ้นอยู่กับ ความเร็วของประจุ v ภาพแสดงรถไฟตีลังกา ที่อาศัยแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง ขณะเคลื่อนที่

More Related