1 / 53

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์. ว 42102. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. โดยครูศรีไพร แตงอ่อน. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง. อธิบายโครงสร้างภายใน และภายนอกของโลกได้. กำเนิดระบบสุริยะและโลก. เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซใน

Download Presentation

วิทยาศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน

  2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายโครงสร้างภายใน และภายนอกของโลกได้

  3. กำเนิดระบบสุริยะและโลกกำเนิดระบบสุริยะและโลก

  4. เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซใน เอกภพบริเวณนี้ ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชื่อว่า“โซลาร์เนบิวลา” แรงโน้มถ่วงทำให้กลุ่มก๊าซยุบตัวและหมุนตัวเป็นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชั่น กลายเป็น ดวงอาทิตย์ ส่วนวัสดุที่อยู่รอบๆ มีอุณหภูมิต่ำกว่า รวมตัวเป็นกลุ่มๆ มีมวลสารและความหนาแน่นมากขึ้นเป็นชั้นๆ และกลายเป็นดาวเคราะห์ในที่สุด

  5. ดาวเคราะห์สีน้ำเงิน โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวของระบบสุริยะที่มีน้ำดำรงอยู่ครบทั้งสามสถานะคือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 150 ล้านกิโลเมตร ซึ่งทำให้ โลกมีอุณหภูมิ –180C แต่เนื่องจากบรรยากาศของโลกมี ก๊าซเรือนกระจก โลกจึงมีอุณหภูมิเฉลี่ย 150C ทำให้น้ำสามารถดำรงอยู่ได้ทั้งสามสถานะ

  6. โครงสร้างภายนอกโลก โครงสร้างภายในโลก โครงสร้างของโลก

  7. ชั้นบรรยากาศ(Atmosphere) อุทกภาค(Hydrosphere) ชีวมณฑล(Biosphere) ธรณีภาค(Lithosphere) โครงสร้างภายนอกโลก

  8. โครงสร้างภายนอก

  9. อุทกภาค (Hydrosphere) ส่วนที่เป็นน้ำทั้งหมดบนพื้นผิวโลก เช่น แม่น้ำ ลำคลอง ทะเล มหาสมุทร ฯลฯ ตลอดจนน้ำที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งแทรกอยู่ตามช่องว่างในรูพรุนและรอยแตกของหิน ในส่วนที่เป็นน้ำที่อยู่บนโลกนั้นมีอยู่ 3 ใน 4 ส่วนของโลก

  10. ชีวมณฑล (Biosphere) เป็นบริเวณพื้นผิวที่สิ่งต่าง ๆ ที่มีชีวิตเกิดขึ้น  ทั้งที่มีชีวิตอยู่และตายไปแล้วก็ตาม ในส่วนของพวกที่ตาย ถ้าไม่มีการเน่าเปื่อย ผุพัง ก็จะกลายเป็นซากดึกดำบรรพ์ (Fossils)ก่อให้เกิดแหล่งถ่านหิน หรือแหล่งน้ำมัน

  11. ธรณีภาค (Lithosphere) เป็นส่วนของแข็งที่ห่อหุ้มอยู่รอบนอกสุดของโลก ประกอบด้วย ดิน แร่ หินต่าง ๆ มีความหนาประมาณ 45 กิโลเมตร ธรณีภาคนั้นมีความสำคัญที่สุดทางด้านธรณีวิทยาบนพื้นผิวโลก 

  12. โครงสร้างของโลก โลกมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12,756 กิโลเมตร มีมวลสาร 6  1024 กิโลกรัม มีความหนาแน่นเฉลี่ย 5.5 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

  13. ชั้นเปลือกโลก(Crust) เนื้อโลก(Mantle) แกนโลก(Core) โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี

  14. ชั้นเปลือกโลก (Crust) เป็นชั้นนอกสุดของธรณีภาค มีความหนาประมาณ 30 - 45 กม.

  15. ชั้นเปลือกโลก (Crust) มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น ซิลิคอนออกไซด์ และ อะลูมิเนียมออกไซด์

  16. เปลือกโลกชั้นใน (Mantle)

  17. เปลือกโลกชั้นใน มีความหนาประมาณ 2,900 กม. หินที่ประกอบเป็นเปลือกโลกชั้นในคือ หินอัคนีที่มีสีเข้มมาก ไหลเวียนอย่างช้า ๆ มีองค์ประกอบหลักเป็นซิลิคอนออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์และเหล็กออกไซด์

  18. แอสธีโนสเฟียร์ ความหนาประมาณ 130 กม. เป็นชั้นที่มีสภาพพลาสติก (Plastic) ไม่เป็นของที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา

  19. แกนโลก (Core)

  20. แกนโลกภายนอก (Outer Core) ส่วนใหญ่มีธาตุนิเกิลและเหล็ก ความหนา 2,200 กม. ประกอบด้วยสารละลายที่เรียกว่าของเหลวหนัก (Heavy Liquid)

  21. แกนโลกภายใน (Inner Core)ความหนาประมาณ 1,270 กม. ประกอบด้วยหินที่มีความถ่วงจำเพาะสูงมาก เนื่องจากอยู่ในระดับลึกจึงถูกความดันบีบอัดมาก หรือหินนี้อาจจะหลุดจากดาวนพเคราะห์ดวงอื่น ๆ ประกอบเป็นแกนโลก

  22. โครงสร้างโลก

  23. ลิโทสเฟียร์(Lithosphere) แอสทีโนสเฟียร์(Asthenosphere) เมโซสเฟียร์(Mesophere) แก่นชั้นนอก(Outer core) แก่นชั้นใน(Inner core) โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ

  24. ลิโทสเฟียร์(Lithosphere) คือส่วนนอกสุดของโลก ประกอบด้วย เปลือกโลกและแมนเทิล ชั้นบนสุด ดังนี้ - เปลือกทวีป(Continental crust) - เปลือกสมุทร(Oceanic crust) - แมนเทิลชั้นบนสุด(Uppermost mantle)

  25. เปลือกทวีป(Continental crust) ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิต มีความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแน่น 2.7 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร

  26. เปลือกสมุทร(Oceanic crust) เป็นหินบะซอลต์ มีความหนาเฉลี่ย 5 กิโลเมตร ความหนาแน่น 3 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร(มากกว่าเปลือกทวีป)

  27. แมนเทิลชั้นบนสุด(Uppermost mantle) เป็นวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและเปลือกมหาสมุทร ลึกลงมาถึงระดับลึก 100 กิโลเมตร

  28. แอสทีโนสเฟียร์(Asthenosphere) เป็นแมนเทิลชั้นบนซึ่งอยู่ใต้ลิโทสเฟียร์ ลงมาจนถึงระดับ 700 กิโลเมตร เป็นวัสดุเนื้ออ่อนอุณหภูมิประมาณ 600 – 1,000๐C เคลื่อนที่ ด้วยกลไกพาความร้อน(Convection) มีความหนาแน่นประมาณ 3.3 กรัม/ ลูกบาศก์เซนติเมตร

  29. แอสทีโนสเฟียร์(Asthenosphere) ความหนาประมาณ 130 กม. เป็นชั้นที่มีสภาพพลาสติก (Plastic) ไม่เป็นของที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา

  30. เมโซสเฟียร์(Mesophere) เป็นแมนเทิลชั้นล่างซึ่งอยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มีสถานะเป็นของแข็งอุณหภูมิประมาณ 1,000 – 3,500๐Cมีความหนาแน่นประมาณ 5.5 กรัม/ ลูกบาศก์เซนติเมตร

  31. แก่นชั้นนอก(Outer core) อยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ 5,150 กิโลเมตร เป็นเหล็กหลอมละลายอุณหภูมิสูง 1,000 – 3,500๐Cเคลื่อนที่ ด้วยกลไกพาความร้อนทำให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก มีความหนาแน่นประมาณ 10 กรัม/ ลูกบาศก์เซนติเมตร

  32. แก่นชั้นใน(Inner core) เป็นเหล็กและนิเกิลในสถานะของแข็งซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 5,000๐Cมีความหนาแน่น 12 กรัม/ ลูกบาศก์เซนติเมตร จุดศูนย์กลางของโลกอยู่ที่ระดับความลึก 6,370 กิโลเมตร

  33. เปลือกโลก

  34. แผ่นดินสะเทือนเกิดขึ้น เมื่อแผ่นเทคโทนิกที่ต่อกัน 2 แผ่นเลื่อนเบียดกันอย่างกะทันหัน

More Related