1 / 17

โดยนางสาววัชริน แม่นยำ นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ ส่วนประสานกิจกรรมชุมชน

ผลการปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาและประสบการณ์ ในการทำงานด้านการบำบัดทางจิตวิทยาของนักจิตวิทยาส่วนประสานกิจกรรมชุมชน. โดยนางสาววัชริน แม่นยำ นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ ส่วนประสานกิจกรรมชุมชน สถานพินิจฯกรุงเทพมหานคร. ตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา 646 คน จำแนก 555 คน มาตรา63 91 คน.

kimi
Download Presentation

โดยนางสาววัชริน แม่นยำ นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ ส่วนประสานกิจกรรมชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาและประสบการณ์ในการทำงานด้านการบำบัดทางจิตวิทยาของนักจิตวิทยาส่วนประสานกิจกรรมชุมชนผลการปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาและประสบการณ์ในการทำงานด้านการบำบัดทางจิตวิทยาของนักจิตวิทยาส่วนประสานกิจกรรมชุมชน โดยนางสาววัชริน แม่นยำ นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ ส่วนประสานกิจกรรมชุมชน สถานพินิจฯกรุงเทพมหานคร

  2. ตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา 646 คน จำแนก 555 คน มาตรา63 91 คน ผลการปฎิบัติงานด้านจิตวิทยา ปี พ.ศ. 2551

  3. ระดับเชาวน์ปัญญา • ฉลาดมาก 9 คน 1.39% • ฉลาด 179 คน 27.71% • ปานกลาง 437 คน 67.65% • ทึบ 18 คน 2.79% • ทึบมาก 2 คน 0.31% • ปัญญาอ่อน 1 คน 0.15%

  4. การปรับตัว • โทษคนอื่นอย่างตรงไปตรงมา (E. At) 32 คน 5.76% • เลี่ยงการเผชิญกับปัญหาโดยโทษคนอื่น(E. Av) 91 คน 16.40% • ไม่ยอมรับว่าตนมีปัญหาโดยโยนความผิดให้คนอื่น(E.D) 55 คน 9.91% • โทษตนเองว่าเป็นต้นเหตุของปัญหา(I. At) 71 คน 12.79% • โทษตนเองโดยอ้างความบกพร่องหรือความเจ็บป่วยเพื่อเลี่ยงการเผชิญกับปัญหา(I. Av) 163 คน 29.37% • ไม่ยอมรับรู้ปัญหาอย่างสิ้นเชิง(I.D) 107 คน 19.28% • ปกติ 36 คน 6.49% • ไม่ได้ทดสอบ 91คน

  5. ลักษณะสุขภาพจิต • Impulsive 309 ราย 47.83% • ADHD 8 ราย 1.24% • Aggressive 275 ราย 42.57% • Hostility 253 ราย 39.16% • Depressive 51 ราย 7.89% • Low self Esteem 278 ราย 43.03% • Conduct disorder 74 ราย 11.46% • Physical abuse 40 ราย 6.19%

  6. ลักษณะสุขภาพจิต • Sexual abuse 5 ราย 0.77% • Neglect 226 ราย 34.98% • Learning disability 10 ราย 1.55% • Emotional abuse 172 ราย 26.63% • Organic brain syndrome 1 ราย 0.15% • Psychotic - ราย 0% • Sexual deviance 13 ราย 2.01%

  7. สภาวะสุขภาพจิต MAYSI II • Alcohol / Drug use 4 ราย 4.40% • Angry / Irritable 8 ราย 8.79% • Depress / Anxious 14 ราย 15.38% • Somatic Complaints 14 ราย 15.38% • Suicide Ideation 4 ราย 4.40% • Though Disturbance 12 ราย 13.19% • Traumatic Experience 12 ราย 13.19%

  8. การบำบัดทางจิตวิทยา • ให้การปรึกษาทางจิตวิทยารายบุคคล 650 คน • ให้การปรึกษาครอบครัว 653 คน • จิตบำบัดรายบุคล 12 คน • ครอบครัวบำบัด 19 คน • CBT 2 คน • ทักษะชีวิต 87 คน • Anger management Training 21 คน • จัดกิจกรรมบำบัดฟื้นฟูแบบไปกลับ 13 คน

  9. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชนประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน ขั้นตอนการบำบัดทางจิตวิทยา • ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น • ประเมินปัญหาและพฤติกรรม • วางแผนและเลือกรูปแบบการบำบัดทางจิตวิทยาให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาของเด็กและเยาวชนแต่ละราย • ตกลงบริการและทำตามเงื่อนไข • ดำเนินการบำบัดทางจิตวิทยา • ประเมินและสรุปผลการบำบัด • ยุติการบำบัด • ติดตามผลการบำบัดเป็นระยะตามความเหมาะสม

  10. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ)ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ) การปรึกษาทางจิตวิทยา • การสร้างสัมพันธภาพและการตกลงบริการ • การสำรวจปัญหาและเข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ • การวางแผนแก้ไขปัญหา • การนำไปปฎิบัติติดตามผลและการยุติบริการ

  11. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ)ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ) ครอบครัวบำบัด • การสร้างสัมพันธภาพ / ตกลงบริการ ทักษะที่ใช้ เน้นฝ่ายที่เพิ่งรู้จักกันครั้งแรก สังเกตแรงต่อต้าน ประเมินแรงจูงใจ แรงต่อต้าน ความคิด ความรู้สึก วิธีการจัดการกับแรงต่อต้าน ตกลงบริการ • การสำรวจปัญหา ทักษะที่ใช้ การหยุดอีกฝ่ายอย่างนุ่มนวล การเชื่อมโยงประเด็น การถามเวียน

  12. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ)ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ) ครอบครัวบำบัด • เข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการ ในขั้นนี้ทำให้ทราบถึงระดับปัญหาของครอบครัว ให้สมมติฐาน • การวางแผน แก้ไขปัญหา • การปฎิบัติ / ติดตามผล

  13. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ)ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ) การบำบัดผู้กระทำผิดที่ล่วงละเมิดทางเพศ • ให้ผู้กระทำผิดมีควมรับผิดชอบทางกฎหมาย • การบำบัดเน้นครอบครัวบำบัด ทักษะการจัดการกับอารมณ์โกรธ การยับยั้งชั่งใจ เพศศึกษาเบื้องต้น ทักษะชีวิต • ให้รู้ถึงตัวกระตุ้นที่ทำให้เกิดความต้องการและอาจทำผิดซ้ำ • ดึงศักยภาพทางบวกในด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนตนเอง

  14. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน (ต่อ) ศิลปบำบัด • ใช้เป็นสื่อในการสนับสนุนให้เยาวชนได้มีโอกาสแสดงความคิด ความรู้สึกที่แท้จริงออกมา ทำให้เยาวชนมีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น • เหมาะสำหรับเยาวชนที่มีความยากลำบากในการแสดงความรู้สึก เก็บตัว • การนำมาใช้ ให้เยาวชนสำรวจอารมณ์ ความคิด ความรู้สึกของตนผ่านรูปวาดที่วาดในหัวข้อ ความคิดความรู้สึกของฉันในขณะนี้ , ชีวิตครอบครัวของแนในวัยเด็ก เหตุการณ์ที่ทำให้กลัว / ตกใจ , วาดภาพอิสระ • ให้เยาวชนแปลความหมาย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพที่วาด

  15. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ)ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ) การเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง • ประสบการณ์ที่ทำให้เกิดความภาคภูมิใจ • เป้าหมายในชีวิต • การเสริมทักษะชีวิต • สำรวจข้อดีข้อบกพร่องของตนเอง

  16. ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ)ประสบการณ์เกี่ยวกับการบำบัดทางจิตวิทยาเด็กและเยาวชน(ต่อ) การจัดการกับความโกรธ • หายใจลึกๆจากกระบังลม คิดถึงสิ่งดีงามและสบายใจ จินตนาการภาพประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย • พูดกับตัวเองช้าๆด้วยคำพูดที่สงบเช่น เย็นๆไว้หรือใจเย็นๆ (พูดขณะหายใจเข้าลึกๆ)

More Related