1 / 32

ข้อเสนอการบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์

BLUEPRINT FOR CHANGE. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน. ข้อเสนอการบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์. เกยูร คณารุ่งเรือง. วิสัยทัศน์กระทรวงแรงงาน. เป็นองค์กรหลักในการบริหารแรงงานเชิงรุก พัฒนาแรงงานให้มีงานทำ มีศักยภาพ

kiona-estes
Download Presentation

ข้อเสนอการบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. BLUEPRINT FOR CHANGE กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน ข้อเสนอการบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์ เกยูร คณารุ่งเรือง

  2. วิสัยทัศน์กระทรวงแรงงานวิสัยทัศน์กระทรวงแรงงาน • เป็นองค์กรหลักในการบริหารแรงงานเชิงรุก • พัฒนาแรงงานให้มีงานทำ มีศักยภาพ • สามารถสนับสนุนขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ • มีหลักประกันความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในการทำงาน

  3. วิสัยทัศน์กรมพัฒนาฝีมือแรงงานวิสัยทัศน์กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นองค์กรหลักในการดำเนินงานประสาน และส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ กำลังแรงงานให้ได้มาตรฐาน มีเอกภาพเป็นที่ยอมรับในระดับสากล สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก

  4. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กพร.)Department of Skill Development (DSD) • พัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ดำเนินการส่งเสริมการทดสอบมาตรฐานและแข่งขันฝีมือแรงงาน • ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานและพัฒนาระบบรูปแบบการพัฒนาฝีมือแรงงานแก่กำลังแรงงาน • ดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ศักยภาพแรงงาน และการเป็นผู้ประกอบการ

  5. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กพร.)Department of Skill Development (DSD) 4. ดำเนินการประสานและส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชน จัดทำแผนความต้องการแรงงานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และสร้างเครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงาน 5. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 6. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ประสานความเชื่อมโยง สร้างและพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ

  6. หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาฝีมือแรงงานหน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่วนกลาง ในบริเวณกระทรวงแรงงาน ถนนมิตรไมตรี ดินแดง กรุงเทพมหานคร • สำนักงานเลขานุการกรม- -กองคลัง- -กลุ่มงานกฎหมาย- -กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร • กองแผนงานและสารสนเทศ • สำนักพัฒนาและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน • สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก • กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบการ • กองประสานและบูรณาการการพัฒนาฝีมือแรงงาน • สำนักงานบริหารพระราชบัญญัติการพัฒนาฝีมือแรงงาน • สำนักงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน • ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร ส่วนกลางที่ตั้งในภูมิภาค ทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย • สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 12 แห่ง • สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสน • ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด 64 แห่ง

  7. อัตรากำลัง 2,621 คน ข้าราชการ 1,277 คน ลูกจ้างประจำ 950 คน พนักงานราชการ 394 คน งบประมาณ 1,371 ล้านบาท เงินเดือนค่าจ้าง 496 ล้านบาท งบดำเนินการ 776 ล้านบาท งบลงทุน 99 ล้านบาท อัตรากำลัง และงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

  8. เป้าหมายแผนงานและงบประมาณ 2549

  9. ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความพร้อมสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความพร้อมสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ 2. ด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ 3. ด้านการสร้างสมรรถนะขององค์กร

  10. ข้อเสนอด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพข้อเสนอด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ ปรับปรุงขั้นตอนและกระบวนงาน โดยวิธีบริหารจัดการสมัยใหม่ เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย และเพิ่มผลผลิต

  11. ข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ วางระบบอำนวยความสะดวก และ ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนผู้รับบริการ

  12. ข้อเสนอด้านการสร้างสมรรถนะขององค์กรข้อเสนอด้านการสร้างสมรรถนะขององค์กร จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรในองค์กรเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะให้มีความพร้อมต่อ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ จัดทำแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ วางแผนการพัฒนาองค์การและการสื่อสาร

  13. องค์ประกอบของข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง 1. ด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน 2. ด้านเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน 3. ด้านการจัดแบ่งงานและหน้าที่ (เพิ่มขีดสมรรถนะขององค์กร) 4. ด้านบุคลากร (เพิ่มขีดสมรรถนะของบุคลากร : COMPETENCY)

  14. กรอบแนวคิดในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ของ CEO อธิบดีสมชาติ เลขาลาวัณย์ คนทำงานต้องเข้าใจหัวใจของงานที่ทำ จึงจะทำงานอย่างมีความสุขและหานวัตกรรมในการทำงานได้เอง • จัดระเบียบสิ่งที่มีให้เป็นระบบ ดูทุกอย่างที่มีอยู่ ต่อยอดให้เป็นระบบ แล้วสื่อสารให้ทั่วถึงและชัดเจน โดยเน้นสืบค้นได้ • ร่วมกันค้นหา เรียนรู้ร่วมกันด้วยยุทธวิธี ON THE JOB TRAINING ซ้ำ เน้น ย้ำ จนเกิดทักษะ ปรับปรุงจนเกิดเป็นมาตรฐาน • เครื่องมือมีอยู่ในองค์กร หาทางใช้ให้คุ้มค่าและทั่วถึงก่อน

  15. ประเด็นยุทธศาสตร์กรมพัฒนาฝีมือแรงงานตาม แผนปฎิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 – 2551) 1. การพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อขจัดความยากจน 2. การพัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพแรงงาน ที่มีคุณภาพ 3. การพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  16. วิธีทำงาน • ตั้งคณะทำงานจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • ปิดประตูตีแมว นำการหารือ • ข้อดี ได้งานทันที เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน. • คนตอบไม่มั่นใจ พวกมากพาไป • คนงานมากขอตัวบ่อยไม่ต่อเนื่อง BFC2

  17. ตัวชี้วัดที่ 15.2 ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการ ดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพ กระบวนงาน : พัฒนาศักยภาพเพื่อการเป็นวิทยากรการพัฒนาฝีมือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมของประเทศ

  18. มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • กลุ่มงานพัฒนาผู้ฝึก • กลุ่มงานพัฒนาหลักสูตร • กองแผนงานและสารสนเทศ • กลุ่มงานอุตสาหกรรมบริการ • สถาบัน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร

  19. การดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในปีการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในปี งบประมาณ 2549 กำหนดไว้ 9 กิจกรรม ดังนี้ 1.จัดทำ Training Roadmap ของวิทยากรการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2. พัฒนาคู่มือวิทยากรและแนวทางการจัดฝึกอบรม 3.ถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยีให้กลุ่มเป้าหมาย 4. พัฒนาระบบ KM & LO และระบบการสร้างเครือข่ายผู้ผ่านการอบรม 5.พัฒนาระบบฐานข้อมูลสำหรับระบบทะเบียนสถานประกอบกิจการทั้งภาครัฐและเอกชนที่เข้าร่วมโครงการวิทยากรหลัก / วิทยากรการพัฒนาฝีมือแรงงาน รวมทั้งรายงานผลการปฏิบัติงานและการติดตามผล ประเมินผล 6. พัฒนา Website สำหรับ KM & LO ของวิทยากร 7. ใช้สื่อ Multimedia / Networking ประกอบการฝึกอบรม 8. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และนำกลับไป ใช้งาน 9. ฝึกอบรมตาม Competency ที่ต้องการ

  20. นำไปสู่การปฏิบัติ • เจ้าภาพ สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก มอบหมายให้กลุ่มงานพัฒนาผู้ฝึก โดยฝ่ายพัฒนาเทคนิคการสอนและการจัดการไปดำเนินการ หารือฝึกวิทยากรหลัก / ฝึกวิทยากรหลัก

  21. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพ COMPETENCY ที่ต้องการ • การประชาสัมพันธ์ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน • ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • การสร้างและการพัฒนาการทำงานเป็นทีม • การวิเคราะห์องค์ความรู้โดยใช้เทคนิค DACUM • ศิลปะการสื่อสารสร้างแรงจูงใจ

  22. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพ COMPETENCY ที่ต้องการ • ความรู้ด้าน Pert/CPM สำหรับการบริหาร/จัดการโครงการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • การวัดผลและประเมินผลกิจกรรม/โครงการฝีกอบรมฝีมือแรงงาน • ทักษะการเป็นวิทยากรพัฒนาฝีมือแรงงาน • ความรู้ด้านการบริหารจัดการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • สถิติ การวิจัยสำหรับงานพัฒนาฝีมือแรงงาน

  23. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพ COMPETENCY ที่ต้องการ • การบริหารและการจัดการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน • การคิดเชิงระบบ • ความรู้ด้านการตลาดผลิตภัณฑ์และลูกค้าเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน • การเจรจาต่อรองสำหรับงานพัฒนาฝีมือแรงงาน • การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ โดยใช้หลักการของมาตรฐานฝีมือแรงงาน

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพ COMPETENCY ที่ต้องการ • การมุ่งเน้นลูกค้าสำหรับงานพัฒนาฝีมือแรงงาน • การบริหารโครงการและงบประมาณในงานพัฒนาฝีมือแรงงาน • การบริการที่ดี • การประสานงานการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน • เทคนิคการจัดประชุม

  25. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานที่มีคุณภาพ COMPETENCY ที่ต้องการ • ศิลปะการพูดในที่ชุมชน • การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ

  26. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อขจัดความยากจน • กลยุทธ์ : สนับสนุนโครงการคาราวานแก้จนและประสานการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงาน พัฒนานักแนะแนวการฝึกเพื่อสร้าง TRAINING ROADMAP สำหรับคนยากจนที่ต้องการสร้างฐานะ

  27. วิธีทำงาน • ติดตามความเคลื่อนไหวในประเด็นยุทธศาสตร์นี้ซึ่งมีการขับเคลื่อนเชื่อมโยงกันหลายกระทรวง • ยึดเอกสารแนวคิดยุทธศาสตร์ขจัดความยากจนซึ่ง CEO สมชาติ เลขาลาวัณย์ ได้จัดทำเป็นแนวทางการทำงาน • หา COMPETENCY จากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของกรมซึ่งเข้ามาประชุมเกี่ยวกับการปฏิบัติด้านความยากจน ภาพรวมยากจน / ประชุมโรงแรม Maxx

  28. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ : ส่งเสริมการใช้มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติกำกับการพัฒนาฝีมือแรงงาน พัฒนานักกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน กลยุทธ์ : ส่งเสริมการใช้มาตรฐานฝีมือแรงงานสาขาการท่องเที่ยวและบริการ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน พัฒนาเจ้าหน้าที่ฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยวและบริการ กลยุทธ์ : ส่งเสริมการใช้มาตรฐานฝีมือแรงงานด้านโลจิสติกส์ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน พัฒนาเจ้าหน้าที่ประสานการฝึกอบรมด้านโลจิสติกส์

  29. วิธีทำงาน • วิเคราะห์งานด้วยกัน • มอบงานให้ไปทำแล้วมาหารือกันเนื่องจากมีเจ้าภาพอยู่แล้ว เป็นการช่วยเติมเต็มกระบวนการคิด และสร้างความยินยอมพร้อมใจเมื่อต้องปฏิบัติตามแผน ประชุม KPI15

  30. ร่วมพัฒนาระบบ ยกระดับบริการ เพื่อรอยยิ้มของประชาชน

  31. ขอบคุณที่ให้ความสนใจ

  32. ขอขอบคุณ

More Related