1 / 17

การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)

การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis). จุดประสงค์ เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับขบวนการผลิตได้ สามารถวิเคราะห์ขบวนการผลิตจากงานที่มอบหมาย สามารถเขียนแผนผังการไหลและแผนภูมิขบวนการผลิต. Process Analysis.

kiri
Download Presentation

การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis) จุดประสงค์ เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับขบวนการผลิตได้ สามารถวิเคราะห์ขบวนการผลิตจากงานที่มอบหมาย สามารถเขียนแผนผังการไหลและแผนภูมิขบวนการผลิต

  2. Process Analysis • ในการศึกษาเพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบการผลิตนั้น จำเป็นต้องศึกษาภาพรวมของระบบการผลิตก่อนแล้วจึงทำการศึกษาละเอียดขึ้นในแต่ละขั้นตอน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการอธิบายระบบการผลิตที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายโดยทั่วไป คือ

  3. Process Analysis • แผนภูมิขบวนการผลิต (Process Chat) • แผนผังการไหล (Flow Diagram)

  4. Process Analysis แผนภูมิขบวนการผลิต เป็นเครื่องมือที่ใช้บันทึกขบวนการผลิตหรือวิธีการทำงานให้เห็นได้ชัดเจนและเข้าใจได้ง่ายในแผนภูมิจะแสดงถึงขั้นตอนการทำงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นขบวนการกล่าวคือ ตั้งแต่เป็นวัตถุดิบจนประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ต้องการ

  5. Process Analysis การศึกษาอย่างละเอียดของแผนภูมิ ทำให้พบว่า การทำงานบางอย่างถูกขจัดทิ้งไป การทำงานบางอย่างสามารถรวมกันได้ สามารถลด หรือขจัดความล่าช้า การ รอคอยที่เกิดขึ้น เหล่านี้ทำให้ในการผลิตมีต้นทุนต่ำลง แผนภูมิกระบวนการผลิตเหมือนกับแผนภูมิทั่วๆไปที่ใช้สัญลักษณ์แสดงถึงความหมายต่างๆซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้สามารถดัดแปลงเพื่อนำไปใช้งานที่เหมาะสมได้

  6. Process Analysis การใช้สัญลักษณ์ในแผนภูมิกำหนดโดยสมาคมวิศวกรเครื่องกลของอเมริกา(ASME) โดยแยกออกเป็น กิจกรรมต่างๆ ตามความหมาย ดังนี้

  7. Process Analysis

  8. Process Analysis แผนผังการไหล (Flow Diagram) จะแสดงแผนผังของสถานที่ทำงาน และตำแหน่งของเครื่องจักรที่เกี่ยวข้องทั้งหมด แล้วเขียนเส้นทางการเคลื่อนที่ของสิ่งที่ทำการสังเกต จะกำหนดสเกลหรือไม่ก็ได้

  9. Process Analysis ผังการไหลแบ่งตามชนิดของสิ่งที่สังเกตออกเป็น 2 ชนิด คือ • ผังการไหลของคน (Man Type) แสดงการเคลื่อนที่ของคนในการทำงาน • ผังการไหลของวัสดุ ( Material Type) แสดงการเคลื่อนที่ของวัสดุ หรือวัตถุดิบในการผลิต

  10. การเขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตและแผนผังการไหลการเขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตและแผนผังการไหล มี 6 ขั้นตอน • เลือกกิจกรรมที่ต้องการศึกษาโดยกำหนดว่าต้องการศึกษากระบวนการของคนหรือวัสดุ • กำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของขบวนการผลิตที่จะศึกษาโดยจะต้องครอบคลุม กิจกรรมทั้งหมดที่ต้องการศึกษา

  11. การเขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตและแผนผังการไหลการเขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตและแผนผังการไหล • เขียนแผนภูมิขบวนการผลิต ซึ่งต้องประกอบไปด้วย Heading , Description , Summary • แสดงผลของกิจกรรมต่างๆคือ จำนวนขั้นตอนปฏิบัติงาน , จำนวนขั้นตอนการขนส่ง , จำนวนครั้งของการล่าช้า,จำนวนครั้งที่ทำการตรวจสอบ , จำนวนครั้งในการพักและระยะทางการขนส่งไว้ในตารางสรุป

  12. Process Chat

  13. การเขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตและแผนผังการไหลการเขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตและแผนผังการไหล • เขียนผังการไหลของขบวนการการผลิตแสดงสถานีงาน ที่ตั้งของเครื่องจักรและเครื่องมือต่างๆ • แสดงทิศทางการไหลของขบวนการผลิตโดยใช้หัวลูกศรชี้

  14. Flow Diagram

More Related