1 / 13

การบริหารจัดการแรงงาน รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

การบริหารจัดการแรงงาน รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 31 พ.ค. 56. การบริหารจัดการแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การเตรียมความพร้อมแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน. สถานการณ์การขาดแคลนแรงงานในปัจจุบัน.

Download Presentation

การบริหารจัดการแรงงาน รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนการบริหารจัดการแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 31 พ.ค. 56

  2. การบริหารจัดการแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนการบริหารจัดการแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การเตรียมความพร้อมแรงงานรองรับการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน

  3. สถานการณ์การขาดแคลนแรงงานในปัจจุบันสถานการณ์การขาดแคลนแรงงานในปัจจุบัน ปี 2556 ขาดแคลนแรงงานประมาณ 1,650,000 คน

  4. อัตราการขยายตัวของความต้องการแรงงาน ร้อยละ 0.73 ต่อปี สถานการณ์แรงงานในปัจจุบัน ผู้อยู่ในกำลังแรงงาน 39.01 ล้านคน ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 0.95 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 0.48 ภาคบริการ ร้อยละ 0.67 ผู้มีงานทำ 38.27 ล้านคน ว่างงาน 0.36 ล้านคน รอฤดูกาล 0.38 ล้านคน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. ปัญหาการขาดแคลนแรงงานปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ลักษณะปัญหา สาเหตุ การผลิตนักเรียน/นักศึกษาไม่ตรงตามความต้องการของตลาด แรงงาน • โครงสร้างประชากรเปลี่ยนไป • การศึกษาสูงขึ้น • คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ขาดแคลนแรงงานฝีมือ/กึ่งฝีมือ ขาดแคลนแรงงานไร้ฝีมือ

  6. ลักษณะมาตรการแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงานลักษณะมาตรการแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงาน การขาดแคลนแรงงานฝีมือ/กึ่งฝีมือ การขาดแคลนแรงงานไร้ฝีมือ กิจกรรมการจัดหางานเชิงรุก/Matching ตำแหน่งงาน พิจารณาผ่อนผันการอนุญาตทำงานแก่คนต่างด้าว ระยะสั้น ระยะปานกลาง พัฒนาทักษะ Specific/Multi Skill - รง. ปรับปรุงกระบวนการนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน - ส่งเสริมภาคเอกชน ปรับปรุงกระบวนการผลิตใช้ Technology ทดแทนคน - ส่งเสริมภาคเอกชนปรับปรุงระบบงานให้มีประสิทธิภาพ ระยะยาว - รง. ศึกษาวิเคราะห์ พยากรณ์ ความต้องการของตลาดแรงงาน - ศธ. เตรียมผลิตนักเรียน/นักศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ ใช้แรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายเท่าที่จำเป็น

  7. การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานโดยการพัฒนาฝีมือแรงงานการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานโดยการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แรงงานที่มีอยู่ต้องมีผลิตภาพเพิ่มขึ้น ผลิตภาพการทำงานในตำแหน่ง/หน้าที่/อาชีพเดิม (Specific skill) ผลิตภาพการทำงานได้หลายตำแหน่งงาน (Multi - skill) การอบรม/พัฒนาเพื่อยกระดับทักษะฝีมือ การทำงานได้หลายหน้าที่ การทำงานได้หลายอุตสาหกรรมการผลิต/บริการ/เกษตรกรรม การฝึกอบรม/พัฒนาเพื่อเปลี่ยนหรือย้ายสายงาน การฝึกอบรม/พัฒนาให้สอดคล้องกับการเคลื่อนย้ายแรงงานในแต่ละภาคการผลิต/บริการ และช่วงเวลาการใช้แรงงาน

  8. คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน หน้าที่ 1. จัดทำแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. ประสานงานและบูรณการการดำเนินงานตามแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. ประสานงานและบูรณการการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทานแรงงาน 4. กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน 5. รายงานผลการดำเนินงานและจัดทำข้อเสนอแนะในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ประธาน ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์ รองประธาน เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ สศช. ปลัดกระทรวง/หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนภาคเอกชน ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรรมการและเลขานุการ

  9. อุตสาหกรรมที่ควรเร่งยกระดับทักษะฝีมือแรงงาน

  10. ประเด็นที่จะใช้ดำเนินการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ประเทศไทยประเด็นที่จะใช้ดำเนินการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ประเทศไทย สร้างสมรรถนะ (Competency)ให้คนไทยแข่งขันได้

  11. ผลการดำเนินงานมาตรการสำคัญของกระทรวงแรงงานในปี 2555 การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การเตรียมความพร้อมแรงงานรองรับประชาคมอาเซียน ฝึกอบรมพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้มีศักยภาพสูงขึ้น 208,820 คน ส่งเสริมให้สถานประกอบการฝึกอบรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 4,015,072 คน ให้บริการจัดหางานในประเทศแก่ประชาชน 1,074,348 คน พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแรงงาน 4 อุตสาหกรรม จัดทำทะเบียนคนต่างด้าวที่ยื่นขอใบอนุญาตทำงาน 1,402,450 คน ฝึกอบรมเทคโนโลยีชั้นสูงแก่แรงงาน 2,785 คน พิสูจน์สัญชาติแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ 257,471 คน ฝึกอบรมภาษาอังกฤษ/อาเซียน แก่แรงงาน 6,408 คน

  12. ข้อเสนอเพื่อให้การดำเนินการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน การเตรียมความพร้อมแรงงานรองรับประชาคมอาเซียน ผลิตนักเรียน/นักศึกษาให้ตรงความต้องการของตลาดแรงงาน พัฒนาประชาชนกลุ่มอื่นๆ เช่น เจ้าหน้าที่รัฐ เกษตรกร อาชีพอิสระ นักเรียน/นักศึกษา พัฒนาการประกอบการใช้องค์ความรู้/เทคโนโลยีใหม่ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย/กฎระเบียบให้สอดคล้องกับเงื่อนไขการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาทักษะและ Multi-Skill ให้แรงงานภาคการผลิต/บริการที่ขาดแคลน/ปริมาณมากเฉพาะฤดูกาล (Season) พัฒนาระบบรองรับมาตรฐานแรงงานในอุตสาหกรรมอื่นๆ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ / สร้างความเข้าใจแก่ประชาชน สำรวจความต้องการแรงงานต่างด้าวที่จำเป็นต้องใช้จริง/ใช้แรงงานต่างด้าวถูกกฎหมาย

  13. ขอขอบคุณ

More Related