1 / 11

แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก

แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก. ปัจจัยขยายตัว. ตลาดสำคัญ. พฤติกรรมผู้บริโภค เน้นสินค้าที่ดีต่อสุขภาพ ช่องทางจัดจำหน่าย เข้าถึงผู้บริโภคมากขึ้น มาตรฐานสินค้าเกษตร อินทรีย์เป็นที่ยอมรับ กระแสอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม มาตรการตวจสอบของ ประเทศผู้นำเข้า.

kirk-walsh
Download Presentation

แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลกแนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก ปัจจัยขยายตัว ตลาดสำคัญ • พฤติกรรมผู้บริโภค • เน้นสินค้าที่ดีต่อสุขภาพ • ช่องทางจัดจำหน่าย • เข้าถึงผู้บริโภคมากขึ้น • มาตรฐานสินค้าเกษตร • อินทรีย์เป็นที่ยอมรับ • กระแสอนุรักษ์ • สิ่งแวดล้อม • มาตรการตวจสอบของ • ประเทศผู้นำเข้า • สหภาพยุโรป /อเมริกาเหนือ (97%ของตลาดโลก) • ญี่ปุ่น • ออสเตรเลีย ตลาดเติบโตต่อเนื่อง ปี 2553 มีมูลค่า 100,000 ล้าน US$

  2. การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทยการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย การบริโภคใน ประเทศ ปี 2548 มีมูลค่า 494 ล้านบาท • ข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าว • ผักสดและเมล็ดภัณฑ์ผัก • ผลไม้แปรรูป • น้ำตาล/น้ำมันปาล์ม • กุ้ง สินค้าเกษตรอินทรีย์ ที่ส่งออก ตลาดสำคัญ • สหภาพยุโรป • สหรัฐอเมริกา • ญี่ปุ่น • สิงค์โปร์

  3. การผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทยการผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทย บริโภคในประเทศ 15,800 ตัน (494 ล้านบาท) พื้นที่การเกษตร สินค้าเกษตร อินทรีย์ 135,634 ไร่ (ปี 2548) (0.1% ของพื้นที่ ประเทศ) ผักสด สมุนไพร 4,618 ตัน (16%) 256 ล้านบาท ผลผลิต 29,415 ตัน ข้าว 18,960 ตัน (64%) 535 ล้านบาท ส่งออก 13,630 ตัน (426 ล้านบาท) ผลไม้ 3,747 ตัน (13%) 75 ล้านบาท

  4. การผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทยการผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทย สมุนไพร ผักสด (16%) นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี เชียงใหม่ สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี ข้าว (64%) สุรินทร์ ยโสธร อุบลราชธานี อุดรธานี มหาสารคาม ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา เชียงรายพะเยา แพร่ ผลไม้ (13%) ชุมพร นนทบุรี เชียงใหม่ ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม

  5. ถั่วและธัญพืช ถั่วเหลือง ถั่วลิสง งา ผักสดต่างๆ ข้าวโพดอ่อน หน่อไม้ฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว ผัก ผลไม้ กล้วย สัปปะรด มะละกอ ขนุน มะม่วง ลำไย ชา มะตูม ตระไคร้แห้ง ชากุหลาบ น้ำผึ้งป่า เครื่องดื่ม กะทิ น้ำตาลทราย แป้งมันสำปะหลัง น้ำมันปาล์ม เครื่องปรุงอาหาร ฟ้าทะลายโจร ยอ สมุนไพร กุ้ง ปลา สัตว์น้ำ สินค้าที่มีการตรวจรับรองมาตรฐาน ข้าว ข้าวหอมมะลิ ข้าวมะลิแดง ข้าวเหลืองอ่อน ข้าวเหลืองประทิว ข้าวเหนียว ข้าวนิล 8 กลุ่มสินค้า

  6. กลยุทธ์การพัฒนาสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทยกลยุทธ์การพัฒนาสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย • กลยุทธ์ระดับชาติ • (สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ) • ขยายฐานการผลิตสำหรับ • สินค้าเกษตรอินทรีย์ • เพิ่มขีดความสามารถและ • ปรับปรุงโครงสร้างให้มี • ประสิทธิภาพดีขึ้น • ให้ความสำคัญกับการวิจัยสินค้า • เกษตรอินทรีย์ • ปรับปรุงและยกระดับสมรรถนะ • ของผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ • การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร • อินทรีย์ภายในประเทศ • ขยายตลาดส่งออกสินค้าเกษตร • อินทรีย์ • ทำให้ประเทศไทยเป็นผู้นำและ • เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็น • เลิศในระดับภูมิภาค • การพัฒนาผู้ประกอบการด้านสินค้า • เกษตรอินทรีย์ (CapacityBuilding) • การขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ • ในและต่างประเทศ (Market • Expansion) • การสร้างมูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ • และผลิตภัณฑ์ (Value Creation) • สนับสนุนการสร้างสิ่งอำนวยความ • สะดวกทางการค้า (Trade • Facilitation) กลยุทธ์การค้า(กระทรวงพาณิชย์)

  7. ตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ของประเทศไทย (ต่อ) • ตลาดภายในประเทศ ช่องทางการจำหน่ายสินค้าอาหารในประเทศ • ตลาดดั้งเดิม (Traditional Trade) เช่น ร้านขายส่ง และร้านขายปลีก • ตลาดสมัยใหม่ (Modern Trade) เช่น ห้างสรรพสินค้า • ตลาดผู้ปรุงอาหาร (Catering) เช่น ร้านอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล • ตลาดอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร (Food Processing Industry) เช่น โรงงานอาหารแปรรูปต่างๆ ในปัจจุบันตลาดหลักของสินค้าเกษตรอินทรีย์ภายในประเทศคือตลาดสมัยใหม่ (Modern Trade) ตลาดที่มีศักยภาพรองลงมาคือ ตลาดอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร และตลาดผู้ปรุงอาหาร

  8. ช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อการส่งออกช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อการส่งออก • นายหน้า (Broker) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • บริษัทค้าสินค้าระหว่างประเทศ (Trading Firm) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • ผู้กระจายสินค้า (Distributor) • ห้างสรรพสินค้า (Supermarket) • ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร (Manufacturer)

  9. ผู้ประกอบการ : ปัจจัยสำคัญในการทำโครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อการตลาด • ค้นหาพันธมิตรในการดำเนินโครงการฯ • เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม(ทั้งด้านภูมิศาสตร์และชุมชน) • ต้องทำงานร่วมกับเกษตรกร • เลือกหน่วยงานตรวจสอบรับรองมาตรฐานที่ สอดคล้องกับตลาด

  10. จบการนำเสนอ

More Related