1 / 30

รัฐและระบบกฎหมาย

รัฐและระบบกฎหมาย. บุคคลคนนี้คือใคร พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าเมืองเชียงใหม่คนสุดท้าย 2453 – 2482. เจ้าเมืองเชียงใหม่หายไปได้อย่างไร เชียงใหม่ใช้ระบบกฎหมายเดียวกันกับกรุงเทพฯ เมื่อไหร่ ระบบกฎหมายก่อนหน้านี้เป็นอย่างไร ระบบกฎหมายมีความสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของรัฐอย่างสำคัญ.

konala
Download Presentation

รัฐและระบบกฎหมาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รัฐและระบบกฎหมาย

  2. บุคคลคนนี้คือใคร • พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ • เจ้าเมืองเชียงใหม่คนสุดท้าย • 2453 – 2482

  3. เจ้าเมืองเชียงใหม่หายไปได้อย่างไรเจ้าเมืองเชียงใหม่หายไปได้อย่างไร • เชียงใหม่ใช้ระบบกฎหมายเดียวกันกับกรุงเทพฯ เมื่อไหร่ • ระบบกฎหมายก่อนหน้านี้เป็นอย่างไร • ระบบกฎหมายมีความสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของรัฐอย่างสำคัญ

  4. รัฐราชาธิราช: ก่อนปฏิรูปการปกครอง ร. 5 • ความแตกต่างก่อนหน้าและภายหลังรัฐสมัยใหม่

  5. รัฐก่อนหน้ารัฐสมัยใหม่เหมือนแสงเทียนรัฐก่อนหน้ารัฐสมัยใหม่เหมือนแสงเทียน • การแสดงถึงการยอมรับต่ออำนาจของอีกรัฐหนึ่งก็ด้วยการส่งบรรณาการ การไปช่วยรบ เข้าร่วมพิธีต่างๆ • ไม่มีศักยภาพในการเข้าไปแทรกแซงในการปกครองของเจ้าเมือง • ประชาชนมีความเป็นพวกเดียวกันหรือไม่

  6. McGilvary • มิชชันนารีชาวอเมริกัน นิกายโปรเตสแตนต์ ได้เดินทางมาภาคเหนือของเพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์ที่เชียงใหม่

  7. หมอแมคกิลวารีเดินทางจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2410 • ใช้เวลาประมาณ 3 เดือน • ปิแอร์ โอต เดินทาง พ.ศ. 2440 • 3 สิงหาคม มาถึงเชียงใหม่ 28 สิงหาคม

  8. พิษณุ จันทร์วิทัน • ล้านนาไทยในแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง • ต้องแลกเงินก่อนพ้นเมืองระแหง

  9. ลักษณะของกฎหมาย • อำนาจสูงสุดในการบัญญัติกฎหมาย • ยังอิงอยู่กับอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามธรรมชาติ • ท้องถิ่นแต่ละแห่งมีกฎหมายที่เป็นของตนเอง • กฎหมายมังรายศาสตร์ • อาณาจักรหลักคำ • กฎหมายหนองบัวลมพู

  10. การบังคับใช้กฎหมาย • กระทั่งต้นรัตนโกสินทร์ อำนาจรัฐทางเหนือไปถึงพิษณุโลก นครศรีธรรมราช • ใช้ได้เฉพาะที่ใกล้กับศูนย์กลางของอำนาจรัฐ ที่ห่างไกลออกไปขึ้นอยู่กับชุมชน

  11. รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์: ยุคปฏิรูปการปกครอง • การปฏิรูปการปกครองในสมัย ร.5 • จัดตั้งมณฑลลาวเฉียง (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน เถิน) > มณฑลพายัพ • จัดตั้งมณฑลลาวพวน (อุดร ขอนแก่น นครพนม สกลนคร เลย หนองคาย > มณฑลอุดร • จัดตั้งมณฑลลาวกาว เขมร หัวเมืองแขกมลายู > มลฑลไทรบุรี

  12. สลายอำนาจท้องถิ่น ขยายอำนาจรัฐส่วนกลาง • 2435 ข้าหลวงส่วนกลางเข้ามาควบคุม 2440 ข้าหลวงใหญ่เป็นผู้มีอำนาจสูงสุด • เปลี่ยนระบบการจัดเก็บภาษี • การสัมปทานป่าไม้ต้องให้รัฐบาลสยามเห็นชอบ • สถาปนาระบบราชการแทนที่ • มีการต่อต้านหรือไม่

  13. ทำไมถึงใช้ชื่อว่า “ลาวเฉียง” • เป็นเพราะชนชั้นนำไทยไม่รู้จักทิศ • หรือเป็นเพราะแผ่นดินไหวทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายของดินแดน

  14. ความรู้สึกร่วมกันในฐานะ “คนไทย” • “การที่จะจัดหัวเมืองลาวให้เรียบร้อยนั้น จะต้องใช้เวลานาน ควรหาผู้ใดผู้หนึ่งไปถากถางหาลู่ทางให้โปร่งก่อน ถ้าจะเอาคนอื่นที่ไม่เป็นคนคุ้นเคยแก่ราชการในกรม หรือไม่ที่นับถือแก่พวกลาวก็อาจเกิดข้อขัดข้องได้” • พระราชหัตถเลขา ร. 5 เกี่ยวกับการจัดระเบียบหัวเมืองล้านนา

  15. ลักษณะของระบบกฎหมาย • อำนาจรัฐส่วนกลางเริ่มขยายตัวพร้อมเทคโนโลยีทางอำนาจ • ทางรถไฟสายโคราช 2443 • ทางรถไฟเชียงใหม่ 2464 • แต่การบังคับใช้ก็ยังมีข้อจำกัด • เสือฝ้าย เสือใบ เสือมเหศวร 2470-2480

  16. เริ่มสร้างระบบกฎหมายเชิงเดี่ยว • การจัดทำประมวลกฎหมายอาญา แพ่งและพาณิชย์ • โดยเฉพาะระบบการจัดการทรัพยากร ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับท้องถิ่น • ระบบกฎหมายที่สัมพันธ์กับรัฐชาติ เช่น สัญชาติ 2454, 2456

  17. อำนาจสูงสุดอยู่ที่กษัตริย์อำนาจสูงสุดอยู่ที่กษัตริย์ • ระบบเจ้าเมืองยุติลง ไม่มีอำนาจท้องถิ่นที่เป็นอิสระอีกต่อไป ตั้งแต่ พ.ศ. 2467 ให้เจ้าเมืองรับเงินเดือนจนสิ้นชีวิต เจ้าเมืองคนใดตายไม่ตั้งใหม่ • เจ้าแก้วนวรัฐ สิ้นชีวิต 2482 ณ เชียงใหม่, ณ ลำพูน, ณ ลำปาง • สัญลักษณ์ของเจ้าท้องถิ่นผู้พ่ายแพ้

  18. พลโทเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิตพลโทเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต

  19. รัฐชาติ: หลัง 2475 • เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยในเดือนมิถุนายน 2475

  20. รูปแบบการปกครอง • “อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย” • พ.ร.บ. ธรรมนูญการปกครองสยาม 2475 • อำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวสยาม • รัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475

  21. รัฐเป็นของประชาชนมิใช่เป็นของกษัตริย์รัฐเป็นของประชาชนมิใช่เป็นของกษัตริย์ • ตาม พ.ร.บ. แปลงชาติเดิม 2454 ต้องมีการถือ “พิพัฒน์สัตยานุสัตย์” • การสาบานว่าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ • การแปลงชาติในปัจจุบันต้องกระทำหรือไม่ • เปลี่ยนความหมายจากเดิมอย่างสำคัญ

  22. การบังคับใช้กฎหมายที่เริ่มสม่ำเสมอทุกพื้นที่การบังคับใช้กฎหมายที่เริ่มสม่ำเสมอทุกพื้นที่ • ในทางทฤษฎี รัฐส่วนกลางมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่รัชกาลที่ 5 • แต่ในทางปฏิบัติต้องมีการสร้างเทคโนโลยีทางอำนาจ เช่น ระบบราชการ ระบบคมนาคม • ในพื้นที่ห่างไกลยังมีปัญหา

  23. การสำรวจชาวเขาหลัง 2500 ที่เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา พบว่าหมู่บ้านส่วนใหญ่เพิ่งตั้ง ชาวบ้านมีเมียหลายคน ตัดสินข้อพิพาทกันเอง • สัญชาติ ป่าไม้ ไม่ได้เป็นปัญหาสำคัญจนกระทั่งหลังทศวรรษ 2530 • เพราะเหตุใด

  24. ลักษณะของระบบกฎหมาย • อำนาจนิติบัญญัติมาจากประชาชน • สืบทอดระบบกฎหมายเชิงเดี่ยว • สืบทอดต่อมาจากยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ • ทำให้เกิดระบบกฎหมายแบบที่ต้องเป็นหนึ่งเดียวทั้งประเทศ มรดก ครอบครัว

  25. อิทธิพลของตะวันตกเพิ่มมากขึ้นอิทธิพลของตะวันตกเพิ่มมากขึ้น • สืบเนื่องตั้งแต่ปลาย ร. 4เป็นต้นมา • รับรองสิทธิเอกชนทางทรัพย์สิน ที่ดิน • กฎหมายอาญา ยกเลิกโทษแบบทรมาน บทลงโทษสูงต่ำชัดเจน

  26. บางเรื่องเกิดหลัง 2475 • ระบบครอบครัวแบบผัวเดียวเมียเดียว • ยอมรับความเท่าเทียมกันของบุคคล ความสามารถเป็นตัวกำหนดชะตากรรม

More Related