1 / 12

การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์

การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์. โดย อาจารย์วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บทนำ. การได้มาซึ่งข้อมูลทางพันธุกรรมที่ดีจะต้องขึ้นอยู่กับการมีข้อมูลที่ดี ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ข้อมูลดิบ

kordell
Download Presentation

การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์ โดย อาจารย์วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. บทนำ • การได้มาซึ่งข้อมูลทางพันธุกรรมที่ดีจะต้องขึ้นอยู่กับการมีข้อมูลที่ดี • ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data)ข้อมูลดิบ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data)ข้อมูลที่เก็บ รวบรวมในฐานข้อมูล

  3. คำศัพท์ที่ควรรู้ Chick Hen Cock Broiler chicken Layer chicken

  4. คำศัพท์ที่ควรรู้ Sow Boar Pig Piglet Gilt

  5. คำศัพท์ที่ควรรู้ Calf Bull or Sire Dam Steer

  6. โครงสร้างของข้อมูลสำหรับประเมินพันธุ์โครงสร้างของข้อมูลสำหรับประเมินพันธุ์ • ข้อมูลสำหรับการประเมินพันธุกรรมสัตว์แบ่งออกได้ดังนี้ 1 ข้อมูลทางระบบสืบพันธุ์ 2 ข้อมูลการเจริญเติบโต 3 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพผลผลิต 4 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความคงทน 5 ข้อมูลทางด้านโครงร่าง

  7. ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม 1 =ช่วงวันท้องว่าง เริ่มตั้งแต่วันที่คลิดจนถึงวันที่ผสมติด (days open) 2 =ช่วงตั้งแต่วันคลอดจนถึงเป็นสัดครั้งแรก (Days to 1st heat after calving) 3 =ช่วงตั้งท้อง เริ่มตั้งแต่วันผสมติดจนถึงวันที่คลอด (gestation) 4 =ระยะห่างการให้ลูก ช่วงตั้งแต่วันที่คลอดจนถึงวันที่คลอดลูกตัวถัดไป (calving interval)

  8. ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม ข้อมูลที่เก็บในโคเนื้อ 1. ID หมายเลขสัตว์ 2. BW เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ ลด Distodia 3. Day to 1th heat เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ เพิ่มReproduction 4. Open day เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ เพิ่ม การผสมติด 5. Calving Interval เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ < 36545 6. Calf crop เป้าหมาย สูง เพื่อ >85 %

  9. ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม 2. Growth performance .น้ำหนักแรกเกิด (birth weight) น้ำหนักหย่านม (weaning weight) weight ratio น้ำหนัก 1 ปี และ 1.5 ปี  อัตราการเจริญเติบโตก่อนหย่านม (pre-weaning gain) ประสิทธิภาพการใช้อาหาร (feed efficiency)

  10. ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม • Sire Summary หรือ herd book ใช้รวบรวมค่า EBV , EPD ของพ่อพันธุ์ เรียก sire summary ใช้รวบรวมค่า MPPA ของแม่พันธุ์ และ Embryo เรียก herd book EBV = Estimated Breeding Value = คุณค่าการผสมพันธุ์ EPD = Expected Progeny Difference = ค่าคาดหวังของลูกที่ จะไดเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยฝูง  EPD = 1/2 EBV  ค่า EPD,EBV

  11. ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม Sire summary in dairy โดย Holstine Assosiationหรือ Red book Linear type โดยใช้ค่า PTA = 1/2 EBV  Predicted Transmitting Ability คือค่าที่แสดงว่าลูกที่ได้จะมีความสามารถแตกต่างจากค่าเฉลี่ยไปปริมาณเท่าใด เช่น PTAmilk +1120 under dept Protien +720 foot angle Fat +110 ……………. %Protien +4.2 ……………. %Fat +1.0 ……………. Index TPI = Total production Index = b1. x1 + b2. x2 + b3 .x3 + b4.x4 โดยที่ X1 = milk yield PTA X2 = Fat PTA X2 = Protein PTA X4 = Under score PTA Type trait Linear type

More Related