1 / 31

การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ. ดร พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Outlines. การค้าระหว่างประเทศ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจระหว่างประเทศ กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ การเงินระหว่างประเทศ

Download Presentation

การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ดร พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. Outlines • การค้าระหว่างประเทศ • กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ • ธุรกิจระหว่างประเทศ • กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ • การลงทุนระหว่างประเทศ • กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ • การเงินระหว่างประเทศ • กฎหมายการเงินระหว่าง ประเทศ

  3. การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษา 1. ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Theory of Absolute Advantage) 2. ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage)** 3. มีทฤษฎียุคใหม่อีกมากมายที่ได้รับการพัฒนาจากสองทฤษฎีแรก

  4. การค้าระหว่างประเทศ แนวคิดของสองทฤษฎีแรก: สองทฤษฎีแรกมีแนวคิดคล้ายกันคือ เป็นแนวคิดที่สนับสนุนการค้าเสรี โดยใช้หลักการ ว่าแต่ละประเทศไม่ควรผลิตสินค้าทุกชนิดที่ตนต้องการบริโภค แต่ควรมุ่งผลิตแต่ สินค้าที่ตนได้เปรียบ (ผลิตได้ด้วยต้นทุนต่ำ) และนำเข้าสินค้าที่ตนเสียเปรียบ (ผลิตได้ด้วยต้นทุนสูง) ซึ่งจะทำให้เกิดการแบ่งงานกันทำ (Division of Labor) และผล ที่ตามมาคือความชำนาญ (Specialization) ซึ่งจะทำให้ผลผลิตของโลกสูงขึ้น ใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองทฤษฎีได้นิยามความหมาย ของการได้เปรียบแตกต่างกัน (นิยามของต้นทุนการผลิตแตกต่างกัน) ซึ่งจะให้ผลที่ได้แตกต่างกันตามไปด้วย

  5. การค้าระหว่างประเทศ สมมติฐานที่สำคัญของสองทฤษฎีแรก 1. มีเพียงสองประเทศในโลก และทั้งสองประเทศใช้นโยบายการค้าเสรี 2. แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตชนิดเดียว และมีลักษณะและคุณภาพเหมือนกันทั้งหมด 3. ผลิตสินค้าเพียงสองชนิด 4. ไม่มีค่าขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 5. ฯลฯ

  6. การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Theory of Absolute Advantage) Adam Smith:ประเทศควรส่งออกสินค้าที่ตนได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (ใช้ ต้นทุนการผลิตน้อยกว่า) และนำเข้าสินค้าที่ตนเสียเปรียบโดยสมบูรณ์ ดังนั้น ประเทศจะได้ประโยชน์จากการค้าถ้าตนมีสินค้าที่ได้เปรียบโดยสมบูรณ์มากกว่า ประเทศคู่ค้า นอกจากนั้น การค้าระหว่างประเทศจะไม่เกิดขึ้นถ้าประเทศไม่มี สินค้าที่ตนได้เปรียบโดยสมบูรณ์เลย

  7. การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage) David Ricardo : ประเทศควรส่งออกสินค้าที่ตนได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (ใช้ต้นทุนการผลิตโดยเปรียบเทียบน้อยกว่า) และนำเข้าสินค้าที่ตนเสียเปรียบโดย เปรียบเทียบ ดังนั้น แม้ว่าประเทศหนึ่งๆอาจมีต้นทุนการผลิตสูงกว่าประเทศคู่ค้าทุก ชนิด (สินค้าทุกชนิดเสียเปรียบโดยสมบูรณ์) แต่ประเทศนั้นยังสามารถได้รับ ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศโดยผลิตและส่งออกสินค้าที่ตนได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบ เพราะเป็นไปไม่ได้ว่าจะมีประเทศใดที่มีสินค้าที่เสียเปรียบโดย เปรียบเทียบทุกชนิด

  8. การค้าระหว่างประเทศ เป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการซึ่งเกิดขึ้นในอาณาเขตระหว่างประเทศ สาเหตุที่ทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ • ประเทศมีทรัพยากรแตกต่างกัน • แรงงานมีความชำนาญแตกต่างกัน • ประเทศผลิตสินค้าแต่ละชนิดโดยเสียต้นทุนแตกต่างกัน • ประเทศมีรสนิยมในการบริโภคแตกต่างกัน(Silk Road, Spice Trade)

  9. การค้าระหว่างประเทศ • ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ • -ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตได้อย่างเต็มที่ • - ส่งเสริมการออมและการลงทุน ภายในประเทศมากขึ้น • - มีการแข่งขันของผู้ประกอบการมากขึ้น • -ประชาชนมีสินค้าบริโภคหลากหลายขึ้น • -ช่วยบรรเทาปัญหาด้านการคลังของรัฐบาล ปัญหาที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ -ปัญหาการขาดดุลการค้า -ปัญหาด้านอัตราการค้า -ปัญหาการเลียนแบบการบริโภค ข้อดี/ข้อเสียของการค้าระหว่างประเทศ

  10. การค้าระหว่างประเทศ • การ ค้า ระหว่าง ประเทศ จึงหมายถึง การส่งสินค้าออกไปขายต่าง ประเทศ(exports)และ การนำสินค้าเข้ามาจำหน่ายในประเทศ (imports)การ ค้า ระหว่าง ประเทศ มีความแตกต่าง และ มีความสลับซับซ้อนมากกว่าการค้าภายใน ประเทศ • การค้าระหว่างประเทศภายใต้พิธีการทางการค้าที่ ยุ่งยากมากกว่าการค้าภายใน ประเทศ เพราะ ผู้ซื้อ และ ผู้ขาย อยู่คนละประเทศกัน ต้อง มี การเคลื่อนย้าย สินค้า จากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่ง • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  11. Source: http://www.yangshuo-hostel.com/market.htm Source http://marycrimmins.com/guest-post-local-outside-america/

  12. Source: http://www.europas.irtea.gr/?page_id=186

  13. Youtube clip • International Trade Supply Chains

  14. กฎหมายการค้าระหว่างประเทศกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับ การค้า ระหว่างประเทศ เป็น กฎหมาย ทั้ง ที่ เป็น กฎหมาย ใน ประเทศ ผู้ ส่งออกสินค้ากฎหมายภายในของประเทศผู้นำเข้าสินค้าตลอดจน ความ ตกลง ระหว่าง ประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับ การ ค้าระหว่างประเทศ ใน เรื่อง ต่างๆ ได้แก่ การ ซื้อ ขาย ระหว่าง ประเทศ การชำระ เงิน ตามสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ การขนส่งระหว่างประเทศ การประกันภัยทางทะเล และ การระงับข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ

  15. กฎหมายการค้าระหว่างประเทศกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ สงวนสิทธิ์ พรชัย วิสุทธิศักดิ์

  16. การลงทุนระหว่างประเทศ • การลงทุนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการ มาจาก การค้าระหว่างประเทศเมื่อได้มีการ จัดตั้งหน่วยการผลิต หรือ บริการขึ้นในต่าง ประเทศ • การลงทุน อาจหมายรวมถึง การเข้าไปพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภคโดยบริษัทต่างชาติในประเทศต่างๆ • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  17. Source: http://www.nationmultimedia.com/business/Toyota-pours-more-investment-to-Thailand-30176954.html

  18. Source: http://uk.reuters.com/article/2014/03/16/uk-china-urbanisation-idUKBREA2F0QI20140316

  19. กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ • การลงทุนระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายภายใน ของ ประเทศ ที่ เกี่ยวข้อง ความตกลงระหว่างรัฐ ที่ เกี่ยวกับการลงทุน โดย เฉพาะ ในเรื่อง สิทธิประโยชน์ และ ข้อจำกัดเกี่ยวกับการลงทุนสัญญาการลงทุน ระหว่างประเทศ การถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างประเทศ และ การระงับข้อพิพาททางการ ลงทุน

  20. ธุรกิจระหว่างประเทศ • ด้วยเหตุที่กฎหมายไม่มี คำจำกัดความ คำว่าธุรกิจ ระหว่างประเทศ (international business หรือ international business transactions) ไว้ โดย เฉพาะดังนั้น การ พิจารณาความ หมายของคำว่า “ ธุรกิจระหว่างประเทศ ” จึงควรทำการศึกษาคำว่า “ธุรกิจ” (business) และระหว่างประเทศ (international) ก่อนคำว่า“ธุรกิจ” หมายถึงการผลิต (production) การจำหน่าย (distribution) และ การให้บริการ (services) • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  21. ธุรกิจระหว่างประเทศ • หรือ อีก นัย หนึ่ง “ ธุรกิจ ” หมายถึง การอุตสาหกรรม การพาณิชยกรรม และ การ บริการ “การอุตสาหกร รม” หมายถึง การผลิตสินค้า และ สิ่งของ ต่างๆ เช่น การ ผลิตรถจักรยานยนต์ การผลิตเครื่องจักร เป็นต้น • ส่วนการพาณิชยกรรม หมาย ถึง การค้า หรือ การจำหน่าย สินค้า และ สิ่งของต่างๆ ที่ ผลิตขึ้นมา แล้ว และ “การบ ริกา ร” หมาย ถึงการให้บริการหลังการจำหน่ายสินค้า หรือ สิ่งของ ต่างๆ เช่น การ ให้ คำแนะนำในการใช้ การซ่อมแซม รวมถึงการ ให้ บริการ ทาง ด้านวิชาชีพ เช่น กฎหมาย บัญชี ตลอดจน การขนส่ง การประกันภัย เป็นต้น • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  22. ส่วน คำ ว่า “ระหว่างประ เทศ ” หมายถึงข้าม พรมแดน จาก ประเทศ หนึ่ง ไป ยัง อีกประเทศหนึ่ง การข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ นี้ อาจ เป็นการ ข้าม พรมแดน ระหว่างประเทศ • ฉะนั้น คำ ว่า ธุรกิจระหว่างประ เทศ (international business หรือ international business transactions) จึงหมายถึง กิจกรรม ทางด้านการผลิต การจำหน่าย และ การให้บริการ ที่มีการ ข้ามพรมแดน ระหว่าง ประเทศ จากประเทศ หนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง หรือ อีกนัย หนึ่ง“ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ” หมาย ถึงการค้าและการพาณิชย์ ทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับการ หมุนเวียน หรือ เปลี่ยนมือของสินค้า การบริการ ทุนเงินตรา ตลอดจนเทคโนโลยี ข้าม พรมแดนระหว่างประเทศ • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  23. Source: http://philippinesbusinessprocessoutsourcing.blogspot.com/2010/12/advertise-here.html Source: http://www.frontline.in/static/html/fl2724/stories/20101203272402500.htm

  24. กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศกฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ • กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประ เทศ ” (international business law หรือ legal aspects of international business transactions) จึงหมาย ถึงกฎหมาย ที่ใช้ บังคับกับ การประกอบ ธุรกิจ ข้าม พรมแดน ระหว่าง ประเทศ อัน ประกอบ ด้วยกฎหมายทางการค้าการขนส่ง การลงทุนการเงิน และ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ระหว่างประเทศ หรือ อีกนัยหนึ่ง เป็น กฎหมายซึ่งใช้บังคับกับการค้า และ การพาณิชย์ ทั้งปวง ที่เกี่ยวข้อง กับ การ หมุนเวียน หรือ เปลี่ยน มือของสินค้า การบริการ ทุนเงินตรา ตลอดจน เทคโนโลยี ข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ ฉะนั้น กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ จึง เป็น กฎหมาย ที่ กว้าง และ ครอบคลุม ถึง กฎหมายภายในสาขา ต่างๆ หลาย สาขา • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  25. การเงินระหว่างประเทศ • ทุน (capital) จาก แหล่ง ทุนต่างประเทศ เพื่อใช้ใน การค้า หรือ การลงทุน ภายใน ประเทศโดย เฉพาะ การกู้ยืมเงินระหว่าง ประเทศแหล่ง การกู้ยืมเงิน ระหว่าง ประเทศที่สำคัญ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ หรือ สถาบันการเงินใน ต่างประเทศธนาคาร หรือ สถาบันเงินกู้ระหว่าง ประเทศ เช่น ธนาคารโลก • ส่ง ออก (export credit) ใน ต่างประเทศ และ การกู้ยืมเงินจากตลาดเงิน ต่างๆ เช่น ตลาดเงินตรายุโรป Eurocurrency ตลาด เงินตราดอลลาห์US Dollars ตลาดเงินหยวน • ที่มา:สราวุธปิติยาศักดิ์. กฎหมาย ธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ และ กฎหมาย ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์. มสธ 2555

  26. Source: http://graduateinstitute.ch/lang/en/pid/13977/_/events/cfd/geneva-china-workshop-in-interna Source: http://northafricapost.com/3532-rise-of-the-renmimbi-to-the-international-stage-a-win-win-game-for-the-emerging-multi-polar-global-economy.html

  27. กฎหมายการเงินระหว่างประเทศกฎหมายการเงินระหว่างประเทศ • การ ศึกษา กฎหมาย ที่ เกี่ยวข้องกับการเงินระหว่างประเทศ ได้แก่ การศึกษา ถึง ระเบียบ และ การปฏิบัติ ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ การเงิน ข้ามประเทศ ใน รูปแบบ ต่างๆ เช่น กฎหมาย ที่ เกี่ยวข้อง กับ การ กู้ ยืม เงิน ระหว่าง ประเทศ (international loan) การ ออก พันธบัตร เงิน กู้ (bond issues) ใน ต่าง ประเทศ การ กู้ ยืม เงิน จาก กลุ่ม ผู้ให้กู้ (syndication) การกู้ยืมเงินตามโครงการ (project finance) • กฎหมายการป้องกันการฟอกเงิน

  28. ตัวอย่างการนำเงินเข้าออกประเทศตัวอย่างการนำเงินเข้าออกประเทศ • คำแนะนำผู้เดินทางเข้า-ออกนอกประเทศ • เงินไทย • -  ขาออก ผู้เดินทางสามารถนำเงินสกุลบาทติดตัวออกไปนอกราชอาณาจักรได้ คนละไม่เกิน 50,000 บาท เว้นแต่การนำออกไปยังประเทศใกล้เคียง ได้แก่ พม่า สปป. ลาว   เขมร มาเลเซีย และเวียดนาม สามารถนำเงินสกุลบาทติดตัวออกไปได้คนละไม่เกิน 500,000 บาท •        -  ขาเข้า สำหรับการนำเงินสกุลบาทเข้ามาในราชอาณาจักร ผู้เดินทางสามารถนำเข้ามาได้โดยไม่จำกัดมูลค่า • เงินตราต่างประเทศ หรือปัจจัยการชำระเงินตราต่างประเทศ ทั้งขาเข้า – ขาออก •        ปัจจุบัน ไม่มีการจำกัดจำนวนเงินตราต่างประเทศ หรือปัจจัยการชำระเงินตราต่างประเทศออกไปนอกหรือเข้ามาในราชอาณาจักร แต่หากบุคคลใดนำเงินตราต่างประเทศที่เป็นธนบัตรหรือเหรียญกษาปณ์ออกไปนอก หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรโดยมีมูลค่ารวมกันเกินกว่าสองหมื่นดอลล่าร์สหรัฐ(20,000 ดอลล่า ร์สหรัฐ) หรือเทียบเท่า ต้องสำแดงรายการเงินตราต่างประเทศนั้นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ขณะผ่านด่านศุลกากร การไม่สำแดงรายการในการนำเงินตราต่างประเทศมีความผิดทางอาญา

  29. ตัวอย่าง ธนาคารแห่งประเทศไทย_“ข้อควรทราบเกี่ยวกับระเบียบควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน” • http://www.bot.or.th/Thai/ForeignExchangeRegulations/FXRegulation/Pages/SummaryofRegThaiVers.aspx

  30. จงอธิบายความแตกต่างของจงอธิบายความแตกต่างของ • กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ • กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ • กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ • กฎหมายการเงินระหว่าง ประเทศ จงอภิปราย หากนักศึกษาสำเร็จการศึกษาแล้วอยากประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายด้านใดข้างต้น

More Related