1 / 54

แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗

แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗. เป้าหมายการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๗ มุ่งเน้นการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ “เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาด้านการเลี้ยงสัตว์ ทำให้กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

Download Presentation

แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗

  2. เป้าหมายการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๗ มุ่งเน้นการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ “เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาด้านการเลี้ยงสัตว์ ทำให้กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีหน่วยงาน / องค์กร ที่เกี่ยวข้อง เป็นผู้ให้การสนับสนุน”

  3. เป้าหมายในการดำเนินการ ๓ประการ ๑. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์จะต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๒. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์จะต้องลดต้นทุนการผลิต ด้านอาหารสัตว์ สามารถใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นนำมาเลี้ยงสัตว์ได้ ๓. ใช้มูลสัตว์ที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ ทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ในภาคการเกษตร ลดการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี ยาฆ่าแมลง ๔. กลุ่มเกษตรกรด้านการเลี้ยงสัตว์ สามารถบูรณาการกับกลุ่มด้านต่างๆ รวมกันจัดตั้งตลาด เพื่อนำผลผลิตนำมาจำหน่ายในตลาดสีเขียว

  4. การดำเนินงาน : ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณกรมปศุสัตว์ - แผนงานที่ ๕ : ส่งเสริมประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าภาคการเกษตร - ผลผลิตที่ ๓ : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ งบประมาณ ๒๗๓.๖๕๑๕ ล้านบาท - จำนวนเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและบริการด้าน ปศุสัตว์ เป้าหมาย ๒๙,๙๐๐ ราย

  5. ๑. กิจกรรมหลัก : ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ • ๑) กิจกรรมย่อย : อาสาปศุสัตว์ • พัฒนาศักยภาพอาสาปศุสัตว์ “ฝึกอบรมหลักสูตรทบทวนอาสาปศุสัตว์” • จำนวน ๑รุ่น ๕๐คน • - การจัดตั้งชมรมอาสาปศุสัตว์ • - การคัดเลือกอาสาปศุสัตว์ดีเด่น • - การคัดเลือกอาสาปศุสัตว์ที่จะได้รับการประกันอุบัติเหตุ จำนวน ๒๔คน • ยุวเกษตรกรเพื่อพัฒนาอาชีพ (เกษตรกรคลื่นลูกใหม่และพัฒนายุวเกษตรกร)

  6. แผนและเป้าหมาย อาสาปศุสัตว์

  7. ผลผลิตที่ 3 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ กิจกรรมรอง (กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณ) : อาสาปศุสัตว์

  8. จังหวัดนำเสนอ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร/ รร.ตชด.ดีเด่น • ณ ศูนย์ฝึกอบรมปศุสัตว์เขต ๔ • รอบแรก (ส่งผลการประกวดภายใน ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖) • วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ มหาสารคาม นครพนม สกลนคร • วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น • รอบที่ ๒ วันที่ ๑๙-๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ และ ๒๖-๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖

  9. ๒) กิจกรรมย่อย : การพัฒนาระบบการเลี้ยงโคเนื้อและกระบือ - การจัดตั้งกลุ่มและสนับสนุนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ จำนวน ๑ กลุ่ม ๒๐ ราย - ฝึกอบรมเยาวชนคนรักควาย ๓๐ ราย - กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากควายแบบเกษตรผสมผสาน (ศวท.) - กิจกรรมสัมมนาเครือข่ายคนรักควายระดับภาค (เขต ๔) - กิจกรรมงานโคเนื้อและกระบือแห่งชาติ (เขต ๔)

  10. ดำเนินการ โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด เป้าหมาย ๑.อบรมเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อจังหวัด ละ ๑ รุ่น ๒๐ราย ๑วัน ๒.สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงโคเนื้อในพื้นที่ อบรม/ จัดตั้งเครือข่ายให้แล้วเสร็จ ภายใน มีนาคม ๒๕๕๗ และรายงานผลภายใน ๓๐ วัน งบประมาณ จังหวัด ละ ๒๑,๖๐๐ บาท ให้ขอปรับเปลี่ยนประเภทรายจ่ายงบประมาณ

  11. โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาเครือข่ายการผลิต และการตลาดโคเนื้อ ดำเนินการ โดย สำนักงานปศุสัตว์เขต ๔ เป้าหมาย ๑.สัมมนา เครือข่ายโคเนื้อ ๑ รุ่นๆละ ๑ วัน ๓๐ ราย ประกอบด้วย : เกษตรกรแกนนำ / สถาบันการศึกษา/ผู้ประกอบการแปรรูป/ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานปศุสัตว์ ๒.สร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาดโคเนื้อในพื้นที่เขต ๔ แผนการดำเนินการในช่วง ๒๖ - ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗ งบประมาณ เขตละ ๙๒,๐๐๐ บาท

  12. การอนุรักษ์และพัฒนาระบบการเลี้ยงควายในชุมชน ดำเนินการ โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด เป้าหมาย :อบรมเกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือ ๑ วัน / รุ่นๆละ ๑๕ ราย - ๓ กลุ่ม : มี ๑ จว. = นพ - ๒ กลุ่ม : มี ๗ จว. = รอ,อด,ขก,ลย,มค,สน,มห - ๑ กลุ่ม : มี ๔ จว. = นค,กส,นภ,บก อบรม ให้แล้วเสร็จ ภายใน มีนาคม ๒๕๕๗ และรายงานผลภายใน ๓๐วัน งบประมาณ รุ่นละ ๑๖,๖๐๐ บาท ให้ขอปรับเปลี่ยนประเภทรายจ่ายงบประมาณ

  13. “เยาวนคนรักควายภายในโรงเรียน” ดำเนินการ โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด เป้าหมาย : ๑โรงเรียน อบรมนักเรียน ๑ วัน / รุ่นๆละ ๓๐ ราย - พื้นที่ ๕ จังหวัด ได้แก่ อุดร ขอนแก่น นครพนม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด อบรม ให้แล้วเสร็จ ภายใน มีนาคม ๒๕๕๗ รายงานผลภายใน ๓๐ วัน งบประมาณ รุ่นละ ๒๓,๘๐๐ บาท ให้ขอปรับเปลี่ยนประเภทรายจ่ายงบประมาณ

  14. “การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือระดับภาค” ดำเนินการ โดย สำนักงานปศุสัตว์เขต ๔ เป้าหมาย:๑.จัดเวทีสัมมนาเครือข่ายคนรักควายเขต๓,๔ ๑๐๐ราย ๓ วัน ในช่วงงานวันกระบือแห่งชาติและงานเกษตรอีสานปี ๒๕๕๗ ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๖ มกราคม ๒๕๕๗ ประกอบด้วย : เกษตรกรแกนนำ / สถาบันการศึกษา/พ่อค้าคนกลาง (เขียง)/ ผู้ประกอบการแปรรูปเนื้อกระบือ/เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานปศุสัตว์ ***เน้น : ผู้ที่เข้ามาร่วมสัมมนาเป็นรายเดิมที่เข้าร่วมใน ปี ๒๕๕๖ ๒.พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือระดับภาค งบประมาณ ๒๖๑,๐๐๐ บาท

  15. ผลผลิตที่ ๓เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมหลัก กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ กิจกรรมย่อย การพัฒนาระบบการเลี้ยงโคเนื้อและกระบือ

  16. เป้าหมายรวมทั้งจังหวัดปี ๒๕๕๗ ๑. กลุ่มกระบือรักษางานเดิม ๓กลุ่ม คือ กลุ่มตำบลศรีสงคราม ,ตำบลเหล่าพัฒนา ,นางาม ๒. รักษางานเดิมกิจกรรมเสริมสร้างยุวชนคนรักควายในโรงเรียนบ้านพิมาน ตำบลพิมาน อ.นาแก ๓. การพัฒนาระบบการเลี้ยงกระบือของกลุ่มเกษตรกร ๒กลุ่ม ดำเนินการที่ - บ้านดอนสมอ ม. ๑ - บ้านพิมาน ม. ๓

  17. โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ กลุ่มโครงการพิเศษ ส.ส.ส. กรมปศุสัตว์ กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ ๑. โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร ๒. โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน ๓. โครงการคัดเลือกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรดีเด่น แห่งชาติ

  18. กำหนดชนิดปศุสัตว์เป้าหมายของจังหวัดกำหนดชนิดปศุสัตว์เป้าหมายของจังหวัด - สอดคล้องกับยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ - สอดคล้องกับกับการจัด Zoning • กำหนดเป้าหมายการทำงานชัดเจน เป้าหมาย๑. เกษตรกร (ต้องสังกัดกลุ่มเกษตรกร) ๒. กลุ่มเกษตรกร (ต้องขึ้นทะเบียน) ๓. ศูนย์เรียนรู้ (ต้องขึ้นทะเบียน) ๔. เครือข่ายเกษตรกร (ชมรมจังหวัด/เครือข่ายเขต) - สอดคล้องกับชนิดปศุสัตว์เป้าหมาย -ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ๔ ศูนย์ -ศูนย์การเรียนรู้เฉพาะทาง ๓ ศูนย์

  19. กรอบการทำงาน ๑. พัฒนาความรู้เกษตรกร - ผ่านศูนย์เรียนรู้ - ผ่านกระบวนการกลุ่ม - ผ่านหน่วยงานเทคนิค ๒. สร้างความเข้มแข็งกลุ่มและเครือข่ายเกษตรกร ๓. ติดตามแก้ไขปัญหาพัฒนาการเลี้ยงแบบมีส่วนร่วม ๔. พัฒนาธุรกิจเครือข่าย (เชื่อมโยงการผลิต-ตลาด)

  20. โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรโครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร เป้าหมาย

  21. โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรโครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร

  22. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จ.นครพนม

  23. การดำเนินการ ๑. เตรียมความพร้อมศูนย์เรียนรู้ตามตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) • คัดเลือกศูนย์ • ศูนย์พอเพียง : คัดเลือกจากศูนย์เดิมที่ผ่านการประเมินโดย ปศข. • ศูนย์เฉพาะทาง : คัดเลือกจากเกษตรกรดีเด่นโดยต้องสัมพันธ์กับ • ชนิดปศุสัตว์และกลุ่มเกษตรกรยุทธศาสตร์ • ส่งรายชื่อ/ข้อมูลให้ เขต (แบบฟอร์มกรมจะส่งให้) • พัฒนาความพร้อมศูนย์เพื่อการฝึกอบรม • -องค์ความรู้/หลักสูตร/กิจกรรมฟาร์ม/วิทยากร • พัฒนาคุณภาพศูนย์ตามตัวชี้วัดการประเมิน - ความพร้อมเจ้าของศูนย์ มี 4 ประเด็นย่อย - องค์ประกอบและกิจกรรมในศูนย์ มี 6 ประเด็นย่อย - ความสำเร็จของศูนย์ มี 10 ประเด็นย่อย ตัวชี้วัดเดิมปี 2556

  24. ๒. ฝึกอบรมเกษตรกรผ่านศูนย์เรียนรู้ตัวชี้วัด • ศูนย์พอเพียง - เน้นเกษตรกรที่ทำการเกษตรแบบผสมผสานข้างเคียง - อบรมเกษตรกรรายใหม่ ๒๘ รายต่อศูนย์ - อบรมที่ศูนย์ ระยะเวลาอบรมไม่เกิน ๓ วัน - หลักสูตร เน้นหลักคิดการทำเกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและความรู้การเลี้ยงสัตว์ที่เกี่ยวข้อง • ศูนย์เฉพาะทาง - เน้นเกษตรกรกลุ่มเลี้ยงสัตว์ยุทธศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียน - อบรมเกษตรกรผ่านศูนย์ 40 รายต่อศูนย์ - อบรมที่ศูนย์ระยะเวลาอบรมไม่เกิน 3 วัน - หลักสูตรเน้นความรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลศูนย์ตัวชี้วัดให้เขต (แบบฟอร์มกรมจะส่งให้)

  25. ๓. ฝึกอบรมเกษตรกรเครือข่าย (ศวป.) • วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของกลุ่มเครือข่าย • กำหนดหลักสูตรการอบรม เน้นแก้ไขปัญหาพัฒนาเครือข่าย • ไม่เกิน ๓ วัน เน้นตัวแทนกลุ่ม/อาสา/มี ปัญหา ไม่เกิน ๒๐ คน/ • หลักสูตร • เสนอหลักสูตรของความเห็นชอบจาก ส.ส.ส. • ประสานเครือข่าย/จังหวัด คัดเลือกเกษตรกร • ดำเนินการฝึกอบรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  26. 4. ฝึกอบรมเกษตรกรมืออาชีพ (สนง.ปศข.) • คัดเลือกจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะจากศูนย์เรียนรู้ดีเด่น • กำหนดหลักสูตรการอบรม เน้น สร้างมืออาชีพเฉพาะ • ชนิดปศุสัตว์เครือข่าย เกษตรกรที่สมัครในหลักสูตรไม่เกิน ๕ วัน • ประสานจังหวัด/เครือข่ายรับสมัครเกษตรกร • เน้น เกษตรกรสมาชิกเครือข่ายที่มีคุณสมบัติเหมาะสม • ดำเนินการอบรมร่วมกับเกษตรกรเจ้าของศูนย์ • บ่มเพาะ

  27. ๕. จัดทำสื่อความรู้ (ศวป.) • รวบรวมองค์ความรู้การเลี้ยงสัตว์ตามชนิดเครือข่าย • คัดเลือก/จัดกระบวนความรู้/จัดทำต้นฉบับสื่อ • จัดทำสื่อ ๒ ประเภท (สื่อสิ่งพิมพ์/สื่อนิทรรศการ) • เผยแพร่/สนับสนุนสื่อแก่หน่วยงานต่างๆ ๖. สนับสนุนวิทยากรฝึกอบรมเกษตรกร สปก. • จะแจ้งและโอนงบประมาณให้เมื่อมีความชัดเจน ๗. ติดตามประเมินตามตัวชี้วัด (สนง.ปศข.) • ศูนย์เรียนรู้ (ตามเป้าหมาย) • กลุ่มเกษตรกร (๑ อำเภอ ๑ กลุ่ม)

  28. โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานโครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน เป้าหมาย

  29. โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานโครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน เป้าหมาย

  30. ๑. พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) • คัดเลือกเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ • พบปะจัดกิจกรรมกลุ่มอย่างน้อย กลุ่มละ 5 ครั้ง • ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรสมาชิกกลุ่ม (ตามเป้า) • จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาช่วยตัวเอง • ตรวจสอบ/พัฒนากลุ่มตามตัวชี้วัดการประเมิน • บันทึกและตรวจสอบสมุดบันทึกประจำกลุ่ม • ส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลกลุ่มตัวชี้วัดให้เขต

  31. ๒. พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ • เฉพาะเครือข่ายหมูหลุม/ไก่งวง พัฒนากลุ่มเกษตรกรเครือข่าย (จังหวัด) • พบปะจัดกิจกรรมกลุ่มอย่างน้อย 5 ครั้ง • พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตามตัวชี้วัด • เน้นการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง • บันทึกและตรวจสอบสมุดบันทึกประจำกลุ่ม พัฒนาชมรมจังหวัด (จังหวัด/ศวป./เขต) • สร้างเวทีพบปะสมาชิกอย่างต่ำ ๒ ครั้ง(ประชุมสามัญ) • สร้างแผนพัฒนาระดับชมรมจังหวัด • พัฒนาศักยภาพชมรมจังหวัดตามตัวชี้วัด

  32. พัฒนาเครือข่ายระดับเขต (ศวป./สนง.ปศข.) • จัดเวทีพบปะเครือข่ายกับหน่วยงานรัฐ อย่างน้อย 3 ครั้ง - ทำแผนปฏิบัติงานประจำปี (สนง.ปศข.)(1 ครั้ง) - ทำแผนพัฒนาเครือข่าย/แผนธุรกิจ - รับฟังปัญหา-ความต้องการ/เสนอแนวทางแก้ไข • บูรณาการหน่วยงานจัดกิจกรรมสนับสนุนชมรมจังหวัด - ด้านพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ - ด้านอาหารสัตว์ - ด้านสุขภาพสัตว์ - ด้านการจัดการผลผลิตและการตลาด • พัฒนาเครือข่ายเขตตามตัวชี้วัด

  33. 4. พัฒนาเครือข่ายธุรกิจ (สนง.ปศจ./ศวป.) • ประสานคัดเลือกเป้าหมาย • วิเคราะห์ศักยภาพ/กำหนดแผนพัฒนา • โอนงบประมาณเพื่อดำเนินการตามแผน - แผนพัฒนาภาคการผลิต - แผนพัฒนาภาคการตลาด 5. ติดตามประเมินเครือข่าย (สนง.ปศข.) • ร่วมกำหนดตัวชี้วัดการประเมิน • ติดตามประเมินเครือข่ายตามตัวชี้วัด - กลุ่มเกษตรกรเครือข่าย - ชมรมระดับจังหวัด

  34. ตัวชี้วัด ๑. ตัวชี้วัดเพื่อการประเมินปศุสัตว์จังหวัด - ตัวชี้วัดคุณภาพศูนย์เรียนรู้ (๒๐ ประเด็นย่อย) - ตัวชี้วัดความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร (๒๖ประเด็นย่อย) ๒. ตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผลการพัฒนาเครือข่าย -ตัวชี้วัดกลุ่มเครือข่าย - ตัวชี้วัดชมรมจังหวัด - ตัวชี้วัดเครือข่ายเขต

  35. โครงการคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป้าหมาย • ๑. เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ • ๒. กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ คุณสมบัติ ๑. เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ • เป็นศูนย์เรียนรู้ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์(ศูนย์ตัวชี้วัด) • ประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์ อย่างน้อย ๕ ปี • ไม่เคยได้รับรางวัลดีเด่นแห่งชาติมาก่อน ๒. กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ • เป็นกลุ่มที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์(กลุ่มชี้วัด/๑อ.๑กลุ่ม) • มีอายุกลุ่มไม่น้อยกว่า ๓ ปี • มีข้อมูลย้อนหลังเพื่อตรวจสอบไม่น้อยกว่า ๓ ปี • ไม่เคยได้รับรางวัลมาก่อนหรือได้ไม่เกิน ๕ ปี

  36. การดำเนินการ ๑. คัดเลือกระดับจังหวัด(บังคับทุกจังหวัดต้องส่งเข้าประกวด) ส่ง สนง.ปศข. ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๖ ๒. คัดเลือกระดับเขต ส่งกรมปศุสัตว์ ภายในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ๓. คัดเลือกระดับชาติ (กรมฯ) ส่ง กษ. ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๗

  37. จังหวัดนำเสนอ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร/ รร.ตชด.ดีเด่น • ณ ศูนย์ฝึกอบรมปศุสัตว์เขต ๔ • รอบแรก (ส่งผลการประกวดภายใน ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖) • วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ มหาสารคาม นครพนม สกลนคร • วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น • รอบที่ ๒ วันที่ ๑๙-๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ • และ ๒๖-๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖

  38. ตัวชี้วัด • จำนวนเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมและนำไปใช้ รอบที่ ๑ ประโยชน์ เงือนไขการฝึกอบรมต้องแล้วเสร็จเดือนธันวาคม ๕๖ • จำนวนศูนย์เรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา • จำนวนศูนย์กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนา ประเมินด้วยแบบรายงานผล • จำนวนแหล่ง/ศูนย์เรียนรู้ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ รอบที่ ๒ • จำนวนกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งตามเกณฑ์ ประเมินด้วยแบบรายงานและคณะกรรมการเขต เงื่อนไข • แหล่งเรียนรู้/กลุ่มเกษตรกรต้องขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์

  39. กลุ่มเกษตรกรเข็มแข็ง ๒๔ กลุ่ม

  40. กลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง ๒๔ กลุ่ม

  41. วิสาหกิจชุมชน ๑๒ กลุ่ม กลุ่มเข็มแข็ง ๑๒ กลุ่ม

  42. ผลผลิต เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผลผลิต เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมหลัก กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ กิจกรรมรอง กิจกรรมสัตว์เล็ก – สัตว์ปีก (โครงการจัดทำระบบฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ยั่งยืน) หลักการและเหตุผล ในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีนโยบายพัฒนาด้านเกษตรกรรมยั่งยืน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยด้านปศุสัตว์มีรูปแบบผสมผสาน เป็นทั้งอาชีพหลัก อาชีพรอง และอาชีพเสริม ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร เพิ่มรายได้ และสันทนาการ ตามข้อมูล ปี 2555 ครัวเรือนเกษตรกรจำนวนมากเลี้ยงสัตว์เล็กได้แก่ แพะที่มีจำนวนรวม 491,567 ตัว เกษตรกรที่เลี้ยง จำนวน 41,582 ราย และสัตว์ปีกได้แก่ ไก่งวง จำนวน 70,788 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยงจำนวน 7,046 ราย เป็ดเทศ 6,777,312 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยงจำนวน 385,047 ราย เป็นต้น เกษตรกรยังมีปัญหาอุปสรรคอยู่มาก ในด้านเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม และด้านต้นทุน ผลตอบแทนและอื่นๆ ดังนั้นจึงสมควรมีการจัดทำรูปแบบฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ยั่งยืนและเหมาะสมที่ทดสอบและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกรในชุมชนที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นและองค์ความรู้ทางวิชาการสมัยใหม่ รวมถึง การจัดการผลิตระดับฟาร์มเกษตรกรและการพัฒนาสถาบันเกษตรกร ในลักษณะกลุ่ม ชมรม หรือ เครือข่าย

  43. แผนปฏิบัติงานโครงการจัดทำระบบฟาร์มปศุสัตว์ที่ยั่งยืนแผนปฏิบัติงานโครงการจัดทำระบบฟาร์มปศุสัตว์ที่ยั่งยืน ผู้รับผิดชอบดำเนินงาน : นางสาวผุดผ่อง แสนฝ่าย

  44. เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2557

  45. โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว กิจกรรมที่สำคัญ คือ ๑. กิจกรรมเกษตรสมบูรณ์เพิ่มพูนสุขภาพ ๒. กิจกรรมอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ๓. กิจกรรมการจัดทำแปลงสาธิตการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และศาลาการเรียนรู้ ๔. กิจกรรมการจัดตลาดสายใยรัก ฯ เป็นแหล่งรวบรวม และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของสมาชิก

  46. เป้าหมายรวมทั้งจังหวัดปี ๒๕๕๗ ยังไม่ทราบพื้นที่เป้าหมาย และงบประมาณในการดำเนินการ รายละเอียดการดำเนินงาน ๑. ฝึกอบรมเกษตรกรผู้นำในพื้นที่หมู่บ้าน จำนวน ๓๐คน ๒. จังหวัดและอำเภอออกติดตามตรวจเยี่ยม จำนวน ๑๒ครั้ง

  47. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ วัตถุประสงค์ ๑. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร ให้คำแนะนำทาง วิชาการในการแก้ไขปัญหา การป้องกันโรคสัตว์ การขยายพันธุ์สัตว์ ๒. ให้บริการและสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกร เป้าหมายการดำเนินงาน จำนวน ๔ครั้ง ขั้นตอน และวิธีการดำเนินงาน ๑. ให้คำแนะนำ สนับสนุนช่วยเหลือด้านปศุสัตว์ กลุ่มเป้าหมาย ๒. รายงานผลการดำเนินงานเป็นประจำทุกครั้ง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ได้รับการสนับสนุน และช่วยเหลือให้คำแนะนำด้านปศุสัตว์

  48. โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ โครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ วัตถุประสงค์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร ให้คำแนะนำวิชาการในการแก้ไขปัญหา ป้องกันโรคสัตว์ การขยายพันธุ์สัตว์ ขั้นตอน และวิธีการดำเนินงาน ๑.ให้คำแนะนำ สนับสนุนช่วยเหลือด้านปศุสัตว์ กลุ่มเป้าหมาย ๒.การติดตามงาน จนท.รับผิดชอบทุกระดับ วางแผนติดตามการดำเนินงานฟาร์ม ตัวอย่างแก้ไขปัญหา กรณีเร่งด่วนให้ฟาร์มตัวอย่างฯการติดตามงานต้องมีข้อแนะนำ ๓.รายงานผลการดำเนินงานเป็นประจำทุกเดือน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับฟาร์มตัวอย่าง ฯ ได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือแนะนำด้าน ปศุสัตว์ จำนวน 3 ฟาร์ม

  49. รายละเอียดการดำเนินงานรายละเอียดการดำเนินงาน ส่งเสริมสนับสนุนให้ความช่วยเหลือ ติดตามให้คำแนะนำถ่ายทอดความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ หรือเข้าไปแก้ไขปัญหา การป้องกันโรคสัตว์ การขยายพันธุ์สัตว์ แก่เจ้าหน้าที่ฟาร์มตัวอย่างให้มีความรู้ สามารถเลี้ยงสัตว์ภายในฟาร์มได้

  50. เป้าหมายรวมทั้งจังหวัดปี 2557 ดำเนินการในพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ฟาร์ม คือ 1. โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านทางหลวงตามพระราชดำริ บ้านทางหลวง หมู่ 8 ต.บ้านแก้ง อ.นาแก 2. โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านวังกะเบา-บ้านนาสีนวล ตามพระราชดำริ บ้านนาสีนวล หมู่ 5 ต.โคกสว่าง อ.ปลาปาก 3. โครงการฟาร์มตัวอย่างหนองปลาค้อเฒ่าตามพระราชดำริ บ้านโพนทา หมู่ 2 ต.กุตาไก้ อ.ปลาปาก

More Related