1 / 33

พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542. - การดำเนินคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน. - การดำเนินคดีอาญาฟอกเงิน. พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542. - ใช้บังคับ 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา. - ประกาศ 21 เมษายน 2542. - บังคับใช้ 19 สิงหาคม 2542.

kyle
Download Presentation

พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 - การดำเนินคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน - การดำเนินคดีอาญาฟอกเงิน

  2. พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 - ใช้บังคับ 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา - ประกาศ 21 เมษายน 2542 - บังคับใช้ 19 สิงหาคม 2542

  3. ในส่วนของพนักงานอัยการในส่วนของพนักงานอัยการ - สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 3 - สำนักงานอัยการจังหวัด

  4. สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 3 ตามคำสั่งสำนักงานอัยการสูงสุดที่ 166/2546 รับผิดชอบการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน - ดำเนินคดีในศาลแพ่ง - พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 การดำเนินคดีของศาลให้ยื่นต่อศาลแพ่งและให้นำ ป.วิแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม รับผิดชอบดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ในเขตกรุงเทพมหานคร - ศาลอาญา, อาญากรุงเทพใต้, อาญาธนบุรี

  5. สำนักงานอัยการจังหวัดสำนักงานอัยการจังหวัด รับผิดชอบดำเนินคดีอาญาฐานฟอกเงิน ในเขตอำนาจที่รับผิดชอบ

  6. การฟอกเงิน Money Laundering - หมายถึงการโอน การรับโอน การเปลี่ยนสภาพทรัพย์สินที่เกิด จากการกระทำความผิด เพื่อซุกซ่อนแหล่งที่มาของทรัพย์สินนั้น หรือเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นไม่ว่าก่อน ขณะหรือหลังการกระทำผิด เพื่อมิให้ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลงในความผิดมูลฐาน หรือ - กระทำด้วยประการใด ๆ เพื่อปกปิด หรืออำพรางลักษณะที่แท้จริง การได้มาแหล่งที่ตั้ง การจำหน่าย การโอน การได้สิทธิใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด

  7. ความผิดมูลฐาน (1) ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด (2) ความผิดเกี่ยวกับเพศ เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจารหญิงและเด็ก (3) ความผิดเกี่ยวกับการฉ้อโกงประชาชน หรือความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน (4) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉ้อโกงหรือประทุษร้ายต่อทรัพย์หรือกระทำโดยทุจริตตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ ฯลฯ

  8. (5) ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ (6) ความผิดเกี่ยวกับการกรรโชก หรือรีดเอาทรัพย์ที่กระทำ โดยอ้างอำนาจอั้งยี่ หรือซ่องโจร (7) ความผิดเกี่ยวกับการลักลอบหนีศุลกากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (8) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 135/1-4 (9) ความผิดเกี่ยวกับการพนันตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน เฉพาะผู้จัดให้มีการเล่น และมีจำนวนผู้เข้าเล่นหรือเข้าพนันในการเล่นแต่ละครั้งเกินกว่าหนึ่งร้อยคน หรือมีวงเงินในการกระทำความผิดรวมกันมีมูลค่าเกินกว่าสิบล้านบาทขึ้นไป

  9. (10) ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550 มาตรา 3 (11) ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 มาตรา 14

  10. ความหมาย - ความผิดที่ก่อให้เกิดรายได้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่นำไปสู่การฟอกเงิน

  11. องค์ประกอบความผิด ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 กรณีที่ 1 ตามมาตรา 5(1) องค์ประกอบคือ 1. ผู้ใด (รวมถึงนิติบุคคล) 2. กระทำการโอน รับโอน หรือเปลี่ยนแปลงสภาพทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด

  12. 3. เจตนาธรรมดาตาม ปอ.ม.59 4. เจตนาพิเศษ - เพื่อซุกซ่อน ปกปิดแหล่งที่มาของทรัพย์สินนั้น - เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นไม่ว่าก่อนขณะหรือหลังการกระทำความผิดมิให้ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลงในความผิดมูลฐาน

  13. กรณีที่ 2 ตามมาตรา 5(2) องค์ประกอบ คือ 1. ผู้ใด (รวมถึงนิติบุคคล) 2. กระทำด้วยประการใด 3. เจตนาธรรมดาตาม ปอ.ม.59 4. เจตนาพิเศษ เพื่อปกปิดอำพรางลักษณะที่แท้จริงการได้มาแหล่งที่ตั้ง การจำหน่าย การโอน การได้สิทธิใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิดจริง

  14. ความผิดกรณีฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรการต่าง ๆ ที่กฎหมายกำหนดไว้ - ความผิดฐานไม่รายงานธุรกรรม ตาม พรบ. ปปง. มาตรา 13, 14 - เงินสด 2 ล้าน - ทรัพย์สิน 5 ล้าน - เมื่อสงสัย - ความผิดฐานไม่รายงานธุรกรรม ตาม พรบ. ปปง. มาตรา 16

  15. หลักการที่แตกต่างจากกฎหมายอาญาหลักการที่แตกต่างจากกฎหมายอาญา - ม. 6 ทำนอกราชอาณาจักร รับโทษในราชอาณาจักร ถ้า - ผู้ร่วมทำเป็นคนไทย - ผู้ทำเป็นคนต่างด้าว แต่ประสงค์ให้เกิดในประเทศ - เป็นคนต่างด้าว และผิดฟอกเงินต่างด้าว หากเข้ามาใน ราชอาณาจักร และมิได้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน - การสนับสนุนหรือช่วยเหลือผู้กระทำผิด รับโทษ เช่น ตัวการ มาตรา 7 - การสมคบกันตั้งแต่สองคนเพื่อกระทำผิด รับโทษกึ่งหนึ่ง มาตรา 9 - การพยายามกระทำผิดฐานฟอกเงิน รับโทษ เช่น เกี่ยวกับผู้กระทำผิดสำเร็จ มาตรา 8 - นิติบุคคลกระทำผิด ผู้จัดการนิติบุคคล ต้องรับผิดชอบ

  16. การจับกุมตามกฎหมายฟอกเงินการจับกุมตามกฎหมายฟอกเงิน - เจ้าพนักงานตำรวจ - ปปง. มาตรา 38/1

  17. การดำเนินคดีที่เป็นความผิดหลายฐานเกี่ยวพันกัน พนักงานสอบสวนต้องดำเนินคดีอาญาฐานฟอกเงิน เป็นคดีอาญาอีกฐานหนึ่งต่างจากความผิดมูลฐาน ความผิดหลายฐานเกี่ยวพันกับ ที่ อส 0015/ว 43 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2544

  18. การดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน อำนาจ ปปง. มาตรา 34, 38, 48

  19. การเริ่มตรวจสอบทรัพย์สินการเริ่มตรวจสอบทรัพย์สิน ปปง. รับรายงานจาก - สถาบันการเงิน - สำนักงานที่ดิน - ผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อให้คำแนะนำในการทำธุรกรรมเกี่ยวกับการลงทุนหรือการเคลื่อนย้ายงาน

  20. - ตำรวจ - ปปส. - ธนาคารแห่งประเทศไทย - ประชาชนทั่วไป

  21. การดำเนินการตรวจสอบ - มีเหตุอันควรเชื่อบุคคลดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดมูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงิน - ทรัพย์สินเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิด

  22. คณะกรรมการธุรกรรม มีมติมอบหมาย ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มาตรา 34, 38

  23. ตรวจสอบความผิดมูลฐาน เช่น มูลฐานยาเสพติด - ผลคดี - พยานบุคคล - พยานวัตถุ - ญาติพี่น้อง - ผลคดี พยานบุคคล วัตถุ ทรัพย์ ตรวจสอบทรัพย์

  24. เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อว่ามีการโอนฯเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อว่ามีการโอนฯ ออกคำสั่ง ย. ตามพรบ. ปปง. ม. 48

  25. ส่งคดีตรวจสอบทรัพย์สินส่งคดีตรวจสอบทรัพย์สิน ส่งไปยังพนักงานอัยการ ส่งที่สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 3 เท่านั้น

  26. การพิจารณาสำนวน 1. จะต้องมีการกระทำความผิดมูลฐาน 2. เชื่อได้ว่าทรัพย์สินนั้นเกี่ยวกับการ กระทำความผิดมูลฐาน

  27. กรณีพิจารณาแล้วหลักฐานไม่พอกรณีพิจารณาแล้วหลักฐานไม่พอ - พนักงานอัยการแจ้งข้อไม่สมบูรณ์ให้เลขาธิการ ปปง. ทราบ - ให้เลขาฯที่ดำเนินการแล้วส่งเรื่องไปให้พนักงานอัยการอีกครั้ง - หากยังไม่สมบูรณ์ให้พนักงานอัยการแจ้งและส่งเรื่องให้กรรมการการฟอกเงินพิจารณาเพื่อชี้ขาดภายใน 30 วัน นับแต่รับเรื่องจากเลขาฯ

  28. การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย พรบ.ปปง. ม.49 วรรคท้าย , 52

  29. การดำเนินการขอให้ทรัพย์การดำเนินการขอให้ทรัพย์ ตกเป็นของแผ่นดินยื่นศาลแพ่ง ศาลเดียว ยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง มาตรา 59

  30. ขั้นตอนการดำเนินคดีแพ่งขั้นตอนการดำเนินคดีแพ่ง - ทำเป็นคำร้อง - ศาลจะทำเป็นคำสั่ง - ม. 49 - ประกาศ 2 วัน (ม.49 ว.5) ฯลฯ - เจ้าของ อ้างว่าเป็นเจ้าของ คัดค้านก่อนมีคำสั่ง - ต้องอ้างว่า - ตนเป็นเจ้าของที่แท้จริง - ตนเป็นผู้รับโอนโดยสุจริต และสินค้าตอบแทน - ยื่นบัญชีพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันสืบ ป.วิแพ่ง ม.88 วรรค 1 - สำเนาเอกสารก่อนวันสืบ 7 วัน (ป.วิ.แพ่งม.90) ปกติยื่นคำร้อง

  31. พนักงานอัยการยื่นคำร้องแล้ว มีเหตุพอเชื่อว่าอาจมีการโอน จำหน่าย ยักย้ายทรัพย์ - ยื่นคำขอฝ่ายเดียว ขอให้ศาลมีคำสั่งยึด - อายัดชั่วคราวเป็นการด่วน มาตรา 55 - เช่นเดียวกับชั้นอุทธรณ์ - ฎีกา

  32. - ผู้อ้างว่าเป็นเจ้าของหรือผู้รับโอน เกี่ยวข้อง หรือเคยเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้กระทำผิดมูลฐาน ให้สันนิษฐานไว้ก่อนกว่า บรรดาทรัพย์สินดังกล่าว เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิด หรือรับโอนมาโดยไม่สุจริต มาตรา 51

  33. ทรัพย์ใดดำเนินการได้ตามกฎหมายอื่นอยู่แล้ว แต่ยังไม่ดำเนินการกับทรัพย์ หรือดำเนินการแล้วไม่เป็นผลให้ดำเนินการตามพ.ร.บ.ฟอกเงิน 2542 มาตรา 58

More Related